Page 31 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 31
โสกราตีส เพลโต และอริสโตเติ้ล อาจสะทอนใหเห็นการเบียดเบียน การขมเหงกันภายในสังคมกรีกไดในระดับหนึ่ง
ที่วาระสุดทายแหงชีวิตโสกราตีสตองสิ้นสุดลงดวยการดื่มยาพิษฆาตัวตายตามคําพิพากษาของศาลประชาชน
การเนรเทศตัวเองออกจากเอเธนสของเพลโตและถูกจับเปนทาสไปขายในตลาด และอริสโตเติ้ลที่ตองหลบหนี
แทนการเผชิญหนากับโทษประหารชีวิตแบบโสกราตีส และในสมัยโรมัน แมโรมันจะมีความเรืองรองแหงเหตุผล
หรือคุณคาของความยุติธรรมรองรับกฎหมายโรมัน แตก็ไมอาจบดบังหรือปดกั้นความปาเถื่อนหรือการขมเหง
มนุษยดวยกันในสังคม โรมันถือวาทาสมิใชเพียงแคแรงงานในการผลิตของนายทาสเทานั้น หากยังเปนเสมือน
วัตถุไรชีวิตที่ตอบสนองความตองการทุกอยางของนายและอาจถูกซื้อขายกันไดดังเชนสัตวเลี้ยง และปรากฏการณ
เชนนี้ก็ยังดํารงเรื่อยมาในสังคมตะวันตกตลอดจนสมัยใหม ในขณะที่ในสังคมตะวันออกก็มีสภาพการณไมแตกตางกัน
ดังจะเห็นไดจากในสังคมอินเดียที่มีความเชื่อในระบบวรรณะหรือการแบงชั้นวรรณะของมนุษยออกเปน 4
ประเภท ไดแก พราหมณ กษัตริย ไวศยะ และศูทรหรือทาส หรือแมกระทั่งสังคมไทยในอดีตที่มีระบบทาสกับ
นายทาส เปนตน
ตอมา เมื่อสังคมมนุษยมีความเจริญขึ้น มนุษยมีความเปนตัวของตัวเองและมีเหตุผล
กวาแตกอน มนุษยจึงสามารถชวยเหลือและดําเนินชีวิตไดดวยตนเองโดยไมตองพึ่งพาอาศัยผูอื่นเหมือนแตกอน
หรือพึ่งพาอาศัยผูอื่นแตนอยเทาที่จําเปน มนุษยโดยเฉพาะชนชั้นลางจึงมีความพยายามแสวงหาแนวทางเพื่อ
ปลดปลอยอิสรภาพตนเองจากอํานาจกดขี่ครอบงําของชนชั้นสูงที่เหนือกวา หรือเพื่อใหชนชั้นลางซึ่งเปนผูดอยกวา
มีอิสรเสรีภาพมากขึ้นกวาเดิม หรือมีโอกาสพัฒนาตนเองใหทัดเทียมกับชนชั้นสูงที่เหนือกวา สิทธิมนุษยชน
จึงถูกกลาวถึงในฐานะเปนอุดมคติที่มนุษยกลาวอางขึ้นเพื่อเรียกรองอิสรภาพและความเทาเทียมกันของมนุษย
โดยอางวามนุษยทุกคนเกิดมายอมมีความเสมอภาคเทาเทียมกันและมีสิทธิบางอยางเหมือนกัน คือ สิทธิในชีวิต
เสรีภาพ และทรัพยสินที่ติดอยูกับความเปนมนุษยทุกคนมาแตกําเนิดในฐานะที่เกิดมาเปนมนุษย และไมมีมนุษย
คนใดที่จะพรากหรือโอนสิทธิดังกลาวไปจากมนุษยแตละคนได ดังนั้น จึงเปนการไมสมควรที่จะใหมนุษยสามารถ
ถือสิทธิครอบครอง ซื้อขาย กดขี่ขมเหง และกระทําทารุณกรรมมนุษยดวยกันได
(2) สิทธิมนุษยชนในฐานะที่เปนหลักการในการจํากัดอํานาจของผูปกครอง
จากพัฒนาการทางการเมืองการปกครองของมนุษยชาติจะพบวา การตอสูเรียกรองเพื่อให
ไดมาซึ่งสิทธิเสรีภาพของมนุษยเปนผลมาจากความขัดแยงอันเนื่องมาจากความไมเทาเทียมของกลุมบุคคลสองกลุม
คือ กลุมแรกเปนกลุมที่มีความเขมแข็งและมีอํานาจในการกําหนดความเปนไปภายในสังคม เชน กลุมชนชั้น
ปกครอง กลุมนักการเมือง กลุมพอคาและนักธุรกิจ และกลุมอิทธิพล สวนอีกกลุมหนึ่งเปนกลุมที่มีอํานาจตอรอง
ในทางสังคมนอยกวากลุมแรกและตองปฏิบัติตามการชี้นําของกลุมแรก เชน กลุมชาวนาและเกษตรกร กลุมผูใช
35
แรงงาน และชนชั้นที่มีฐานะยากจน และคนกลุมแรกมักใชกําลังและอํานาจที่ตนมีกดขี่ขมเหงเอารัดเอาเปรียบ
คนกลุมหลังอยางไรมนุษยธรรมโดยเฉพาะชนชั้นผูปกครอง ทําใหคนกลุมหลังซึ่งอยูในฐานะผูถูกปกครองพยายาม
หากฎเกณฑตาง ๆ เพื่อมาจํากัดอํานาจของผูปกครอง ไดแก แนวคิดเรื่องกฎหมายธรรมชาติ และแนวคิดเรื่อง
สิทธิธรรมชาติ กลาวโดยเฉพาะแนวคิดเรื่องสิทธิธรรมชาติในฐานะแนวคิดเริ่มตนของสิทธิมนุษยชน ไดเสนอผานทฤษฎี
35 อุดม รัฐอมฤตและคณะ, อางแลว เชิงอรรถที่ 5, น. 2.
12