Page 30 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 30

สิทธิมนุษยชน คือ  สิทธิอันจําเปนที่มนุษยพึงมีเพื่อใหมนุษยไดมีชีวิตอยางมีศักดิ์ศรี
                                                  32
               การที่มนุษยจะมีชีวิตอยางมีศักดิ์ศรีได หาไดมีความหมายเพียงการมีชีวิต การดํารงชีวิตเทานั้น แตมนุษยตองมีสิทธิ
               ที่จะพัฒนาตนเองเพื่อใหบรรลุถึงการมีชีวิตอยูอยางมีศักดิ์ศรี

                                  จากความหมายคําวา “สิทธิมนุษยชน” ดังกลาวจะเห็นวา สิทธิมนุษยชนสมัยใหมหรือ

               ในยุคปจจุบันมิไดหมายความเฉพาะสิทธิธรรมชาติที่ติดตัวทุกคนมาตั้งแตกําเนิดในฐานะที่เกิดมาเปนมนุษยเทานั้น
               แตยังรวมถึงสิทธิอันจําเปนที่มนุษยพึงมีเพื่อการดํารงอยูอยางมีศักดิ์ศรีของมนุษยดวย ไดแก สิทธิในความเปนอยูที่ดี

               สิทธิในการยอมรับนับถือ สิทธิในการกําหนดตนเอง สิทธิในการพัฒนาตนเอง หรือสิทธิมีสวนรวมในการจัดการ
               ทรัพยากรของรัฐ นอกจากนี้ สิทธิมนุษยชนสมัยใหมยังมิไดหมายถึงเฉพาะสิทธิของปจเจกชนเทานั้น แตยังรวมถึง

               สิทธิของกลุมบุคคลดวย โดยเฉพาะกลุมบุคคลที่เปนผูดอยโอกาสและเสียเปรียบในสังคมที่ตองไดรับการดูแล

                                                                                                           33
               ปกปองจากสังคมหรือรัฐ ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวาสิทธิมนุษยชนสมัยใหมหรือในยุคปจจุบันมีสองระดับคือ
               สิทธิของปจเจกชนกับสิทธิของกลุมบุคคล (Collective Rights)


                      2)  ความสําคัญของสิทธิมนุษยชน


                           จากความหมายและพัฒนาการทางประวัติศาสตรของสิทธิมนุษยชนตามที่กลาวมาขางตนจะเห็นวา
               สิทธิมนุษยชนมีที่มาจากความตองการสองประการของมนุษย คือ ความตองการเปนอิสระและความเทาเทียมกัน

               ระหวางระหวางมนุษยดวยกันและความตองการจํากัดอํานาจของผูปกครองที่ใชอํานาจกดขี่ประชาชน และจาก

               ความตองการดังกลาวทําใหเห็นวาสิทธิมนุษยชนมีความสําคัญ 2 ประการคือ
                           (1)  สิทธิมนุษยชนในฐานะที่เปนหลักในการเรียกรองอิสรภาพและความเทาเทียมกันของมนุษย

                                สืบเนื่องจากสังคมมนุษยในสมัยบุพกาลที่เต็มไปดวยความทุกขยากและความไมเสมอภาค
               เทาเทียมของมนุษย โดยมนุษยถูกแบงออกเปนชนชั้นสูงกับชนชั้นลาง โดยชนชั้นลางจะถูกเอารัดเอาเปรียบและ

               ถูกปฏิบัติเหมือนกับเปนวัตถุสิ่งของหรือสัตวเลี้ยงของชนชั้นสูง สิทธิตาง ๆ  ในสังคมถูกสงวนไวสําหรับคนชั้นสูงเทานั้น

               ทั้งนี้ เนื่องจากชนชั้นลางในขณะนั้นไมมีความเปนตัวของตัวเองและยังตองพึ่งพาอาศัยชนชั้นสูงอยูทั้งในดาน
               ความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและปจจัยสี่ และสภาพการณเชนนี้ปรากฏทั้งในสังคมตะวันตกและตะวันออก คือ 34

                                ในสังคมตะวันตกเริ่มตั้งแตสมัยเมโสโปเตเมีย ที่แฝงไวดวยความทารุณกรรมของระบบทาส
               การประหารหมู ทาสฝงตามลงไปในประเพณีฝงศพพระราชา การลงโทษที่รุนแรงในลักษณะตาตอตาฟนตอฟน เชน

               ถาคนไขตายในระหวางการผาตัดแพทยผูผาตัดตองถูกประหารตายตามไปดวย สมัยอียิปต ภาพของแรงงานทาส

               การทําการทารุณกรรมทาส และการสูญเสียแรงงานทาสจํานวนมหาศาลจากการสรางพิรามิด สมัยฮิบรู ที่ชาวยิว
               ตกเปนทาสของอียิปตและตองทํางานหนักไดรับทุกขเวทนาแสนสาหัส สมัยกรีก แมกรีกจะมีความรุงโรจนในทาง

               ปรัชญา โดยเฉพาะปรัชญากฎหมายธรรมชาติและสิทธิธรรมชาติที่เชื่อในความเสมอภาคทัดเทียมแหงคุณคาของ

               มนุษยที่มีเหตุผลโดยธรรมชาติเสมอกัน แตจากชะตาชีวิตของ 3 นักปรัชญาที่ยิ่งใหญของกรีกโบราณ ไดแก




               32  วิชัย  ศรีรัตน, อางแลว เชิงอรรถที่ 17, น. 47.
               33  เพิ่งอาง. น. 48.
               34  รายละเอียดโปรดดู จรัญ  โฆษณานันท, อางแลว เชิงอรรถที่ 7, น. 3 - 34.


                                                                                                               11
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35