Page 28 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 28

มนุษยแตละคนในฐานะปจเจกชน (Individualism) วามีสิทธิอิสระที่ผูมีอํานาจจะละเมิดมิไดอยูและผูมีอํานาจ

                                                           20
               ตองยอมรับพรอม ๆ กับการจํากัดอํานาจผูปกครอง  โดยผานทางสัญญาประชาคม (Social Contract) และ
               Locke ไดอาศัยทฤษฎีสิทธิปจเจกชนนิยมนี้สนับสนุนความชอบธรรมแหงสิทธิชาวอังกฤษในการตอสูกับกษัตริย

                          21
               ที่เปนทรราช  โดยสิทธิมนุษยชนในยุคนี้จะสรางพันธะในทางลบ (Negative Obligation) ใหกับรัฐ กลาวคือ
               หามรัฐเขามายุงเกี่ยวแทรกแซงในสิทธิและเสรีภาพของปจเจกชน ในขณะเดียวกันก็กอหนาที่ใหกับบุคคลที่สาม
               ในการที่ตองมีหนาที่เคารพตอสิทธิและเสรีภาพของผูทรงสิทธินั้นดวย สิทธิมนุษยชนในยุคนี้จึงกอพันธะใหรัฐ

               เพียงออกกฎหมายรับรองสิทธิและบังคับใชเพื่อใหผูมีสิทธิไดใชสิทธิได สิทธิมนุษยชนในยุคนี้ ไดแก สิทธิและ
               เสรีภาพในเนื้อตัวรางกาย สิทธิในการมีสัญชาติและการไดรับการยอมรับวาเปนบุคคลตามกฎหมาย สิทธิในการมี

               ศักดิ์ศรี สิทธิในความเปนสวนตัว สิทธิในมโนธรรม ความคิด และศาสนา และสิทธิในการพูดและการแสดงออก

               เปนตน 22
                                  ยุคที่ 2 สิทธิมนุษยชนแบบความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice) ที่ขยายคุณคา

               อุดมคติไปสูเรื่อง “ความเสมอภาค” ของมนุษย และทําใหเกิดการปรากฏตัวของสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และ

               วัฒนธรรม ปรากฏในงานเขียนของ John Rawls เรื่อง “ทฤษฎีความยุติธรรม” ซึ่งมีหลักการสําคัญที่เนนคุณคา
               ของสิทธิเสรีภาพอยางสูงของมนุษยสองประการ คือ หลักความมีอิสระเทาเทียมกัน ซึ่งมนุษยทุกคนจะตองมี

               สิทธิเทาเทียมกันในเสรีภาพขั้นพื้นฐานอยางมากที่สุดเทาที่จะเปนได และหลักความเสมอภาคของโอกาส

               ที่เปนธรรมหรือหลักความแตกตาง ในกรณีของความแตกตางในฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมตามหลักความยุติธรรม
               ทางสังคมแลว ความไมเสมอภาคดังกลาวจะตองไดรับการจัดระเบียบใหเปนธรรมหรือใหเปนประโยชนมากที่สุด

                                                       23
               แกคนที่เสียเปรียบหรือดอยโอกาสที่สุดในสังคม  ทั้งนี้เนื่องจากในความเปนจริงแลวคนเรามีความสามารถและ
               โอกาสไมเทากันทําใหมนุษยกลุมหนึ่งไดประโยชน ในขณะที่มนุษยอีกกลุมหนึ่งถูกใชเปนเครื่องมือในการแสวงหา

               ประโยชนจากกลุมแรกและกลุมหลังมีคนจํานวนมากที่ตกอยูในสภาวะยากจนที่สุดและอยูอยางไมมีสภาพที่มี

               คาความเปนมนุษยเหลืออยู จึงทําใหเกิดการเรียกรองสิทธิมนุษยชนในรูปแบบใหมขึ้นมาในลักษณะเปนสิทธิ
               ที่ใหมนุษยมีสภาพความเปนอยูที่ดีสมกับความเปนมนุษย 24

                                  สิทธิมนุษยชนในยุคนี้ไดสรางพันธะในทางบวก (Positive Obligation) ใหกับรัฐฝายเดียว
               คือ เรียกรองใหรัฐเขามามีบทบาทในการกระทําเพื่อเสริมสรางใหมนุษยมีชีวิตความเปนอยูที่ดี มีคุณคาสมกับ

               ความเปนมนุษยแกประชาชนทุกคน แตไมไดกอหนาที่ใหกับบุคคลทั่วไป กลาวคือ บุคคลที่สามหรือเอกชนหาได

               มีหนาที่ตองจัดหาสิ่งตาง ๆ ใหกับบุคคลที่เปนผูทรงสิทธินั้น ๆ ไม สิทธิมนุษยชนในยุคนี้ ไดแก สิทธิในการศึกษา
               สิทธิในที่อยูอาศัย สิทธิในการมีอาหารที่เพียงพอเปนตน 25






               20  บวรศักดิ์  อุวรรณโณ, กฎหมายมหาชนเลม 1 วิวัฒนาการทางปรัชญาและลักษณะของกฎหมายมหาชนยุคตางๆ , พิมพครั้งที่ 6, (กรุงเทพมหานคร : สํานัก
               พิมพวิญูชน, 2546), น. 64.
               21  จรัญ  โฆษณานันท, อางแลว เชิงอรรถที่ 7, น. 63.
               22  วิชัย  ศรีรัตน, อางแลว เชิงอรรถที่ 17, น. 42.
               23  จรัญ  โฆษณานันท, อางแลว เชิงอรรถที่ 7, น. 137.
               24  วิชัย  ศรีรัตน, อางแลว เชิงอรรถที่ 17, น.44 - 45.
               25  เพิ่งอาง, น. 42 - 43.

                                                                                                               9
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33