Page 45 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 45

18  รายงานการศึกษาวิจัย
              การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



                            8. การจางงานอยางตอเนื่องและการเปลี่ยนงานอยางเหมาะสมใหกับแรงงานที่เปน
              ผูติดเชื้อเอชไอวี

                            9. การปองกันการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวี บนพื้นฐานของการไมเลือกปฏิบัติ
                            10. การดูแลและการชวยเหลือ



                            แมวาแนวปฏิบัติเรื่องโรคเอดสในโลกแหงการทํางานเปนเอกสารระหวางประเทศที่ไมมีผลผูกพัน

              ทางกฎหมายและขึ้นอยูกับความสมัครใจ แตเอกสารดังกลาวไดใหความสําคัญกับแนวปฏิบัติที่ดีที่ตั้งอยูบนหลักการ
              พื้นฐานแหงสิทธิ (Rights – based approach) ที่สามารถนําไปฏิบัติได ทั้งในระดับผูกําหนดนโยบาย

              สถานประกอบการ และชุมชน โดยใหความสําคัญกับมาตรการและแผนงานในดานตาง ๆ ดังนี้
                               -   การสงเสริมการคุมครองสิทธิแรงงาน รวมถึงหลักการไมเลือกปฏิบัติ การคุมครอง

              การจางงานและการทํางาน ความเสมอภาคทางเพศ และสิทธิในการไดรับสิทธิประโยชนในฐานะแรงงาน
                               -   การปองกันโดยการใหความรู และการสรางความตระหนักรู รวมถึงการสนับสนุน

              อยางเปนรูปธรรมเพื่อนําไปสูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
                               -   การดูแลและการสนับสนุน รวมถึงการมีสิทธิการเอื้ออํานวยตามสมควรในการทํางานและ

              การประกอบอาชีพ การบริการดานสุขภาพในราคาที่เหมาะสม การดูแลรักษา และสิทธิประกันสังคมตาม
              กฎหมาย  31

                               นอกจากแนวปฏิบัติเรื่องโรคเอดสในโลกแหงการทํางานซึ่งไดรับการตอบรับและนําไปปฏิบัติ
              ในหลายประเทศ เพื่อเปนการตอกยํ้าเจตจํานงในการแกไขปญหาเกี่ยวกับโรคเอดสในโลกแหงการทํางาน ในป

              2550 สมาชิกไตรภาคีขององคการแรงงานระหวางประเทศ ไดรวมกันพิจารณาผลักดันใหมีการจัดทําและรับรอง
              มาตรฐานแรงงานระหวางประเทศขึ้นมาอีกชุดหนึ่ง  เพื่อยกระดับการตอบสนองตอสถานการณเอชไอวี/เอดส

              และไดมีมติรับรองขอชี้แนะวาดวยเอชไอวีและเอดสในโลกแหงการทํางาน ฉบับที่ 200 ในป พ.ศ. 2553
                               ขอชี้แนะดังกลาวถือเปนตราสารองคการแรงงานระหวางประเทศที่ไมมีผลผูกพันทางกฎหมาย

              หากแตเปนการใหขอเสนอแนะแนวทางปฏิบัติตอประเทศสมาชิกขององคการแรงงานระหวางประเทศ เนื้อหา
              สําคัญในขอชี้แนะนี้ไดมุงเนนไปที่มาตรการปองกันในสถานประกอบการและการเอื้ออํานวยใหผูติดเชื้อไดเขาถึง

              การดูแลรักษา โดยใหความสําคัญกับหลักการสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน หลักความเสมอภาคทางเพศ และการไม
              เลือกปฎิบัติ รวมตลอดถึงการรักษาความลับและการเคารพสิทธิสวนบุคคล ซึ่งประเทศสมาชิกมีบทบาทอยางสําคัญ

              ในการนําเอาหลักการดังกลาวไปปฏิบัติ และกําหนดเปนนโยบายและกฎหมายในประเทศตามสมควรตอไป  32


              2.2 มาตรการและแนวปฏิบัติที่ดีดานการคุมครองสิทธิของกลุมผูติดเชื้อเอชไอวี : ศึกษาเปรียบเทียบ
              กฎหมาย และนโยบายของเครือรัฐออสเตรเลีย สาธารณรัฐฟลิปปนส และสหราชอาณาจักร

                     ในฐานะปญหาสังคมระดับโลก การเคลื่อนไหวในประเด็นเกี่ยวกับโลกเอดสในระดับสากล นํามาซึ่งการ
              พัฒนา ปรับปรุง และกําหนดแนวนโยบายและกฎหมายของประเทศตาง ๆ ทั่วโลก จากรายงานของ Global

              Commission on HIV and the Law พ.ศ. 2555 พบวา มี 123 ประเทศ ไดมีกฎหมายเกี่ยวกับการขจัด


              31  Lisk, F, A Rights-based approach in addressing HIV/AIDS in the workplace: the Role and contribution of the ILO and its constituent,
                2007, (1) Law social justice and global development (LGD). <http://www.go.warwick.ac.uk/elj/lgd/2007_1/lisk>
              32  Recommendation concerning HIV and AIDS and the World of Work, 2010 (No.200), 17 June 2010
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50