Page 40 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 40

รายงานการศึกษาวิจัย  13
                                                             การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



                             ความเสมอภาคเชิงเนื้อหา หมายถึง แนวคิดที่มองวาบุคคลในสถานการณที่ตางกันควรไดรับการ
               ปฏิบัติที่ตางกัน แนวคิดดังกลาวใหความสําคัญกับ ความเสมอภาคของผลที่เกิดขึ้น (equality of results) และ

               ความเสมอภาคในโอกาส (equality of opportunity) :
                             -  ความเสมอภาคในผลลัพธ ใหความสําคัญกับผลของมาตรการตางๆ จะตองเทาเทียม เนื่องจาก

               การปฏิบัติที่เหมือนกัน ในทางปฏิบัติ อาจกอใหเกิดความไมเทาเทียมกันเนื่องจากการเลือกปฏิบัติทั้งในอดีตและ
               ปจจุบันหรือความแตกตางในการเขาถึงทรัพยากรหรืออํานาจ ดังนั้น ผลกระทบและวัตถุประสงคของมาตรการ

               จะตองไดรับการพิจารณา
                             -  ความเสมอภาคในโอกาส หมายถึง การที่บุคคลทุกคนจะตองมีโอกาสที่เทาเทียมกันในการ

               เขาถึงประโยชน โดยพิจารณาถึงความแตกตางของแตละบุคคล ความเสมอภาคในโอกาสมีจุดมุงหมายเพื่อโอกาสที่
               เทาเทียม ไมใชผลลัพธที่เทาเทียม

                             สําหรับ การเลือกปฏิบัติ หมายถึง การปฏิบัติ (การกระทําหรือการละเวน) ที่ไมเปนธรรมตอบุคคล
               หรือกลุมบุคคลอันเนื่องจากความแตกตางในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง อาทิ เชื้อชาติ เพศ ศาสนา ภาษา เปนตน

               โดยไมคํานึงวาการกระทําดังกลาวจะมีเหตุผลหรือไม ในมุมมองของกฎหมาย การเลือกปฏิบัติจะเปนการกระทํา
               ที่ไมเปนธรรมและตองหามก็ตอเมื่อเปนการกระทํา เมื่อพิจารณาจากวัตุประสงค สัดสวนของการกระทํา และ

               ผลกระทบอันจะนําไปสูความไมเสมอภาคเทาเทียม การเลือกปฏิบัติอาจเกิดขึ้นไดทั้งทางตรงและทางออม (direct
               and indirect discrimination)

                             - การเลือกปฏิบัติทางตรง หมายถึง การปฏิบัติตอบุคคลหรือกลุมบุคคลใดโดยแตกตางไปจาก
               บุคคลหรือกลุมบุคคลอื่น อันเนื่องมาจากความแตกตางในทางเชื้อชาติ เพศ ความพิการ  เปนตน

                             -  การเลือกปฏิบัติทางออม มักจะเกิดขึ้นเมื่อการปฏิบัติ กฎเกณฑ หรือขอกําหนดดูเหมือนวาจะ
               มีความเปนกลาง แตในความเปนจริงสงผลกระทบตอบุคคลหรือกลุมบุคคลใดโดยเฉพาะ เวนแตการปฏิบัติ

               กฎเกณฑ หรือขอกําหนดดังกลาว มีเหตุผลเพียงพอ ดังนั้น รัฐจึงมีความจําเปนที่จะตองพิจารณาถึงความแตกตาง
               ระหวางกลุมบุคคลและผลกระทบจากการปฏิบัตินั้นดวย 12

                             ดังนั้น การพิจารณาวาการปฏิบัติจะนํามาสูการเลือกปฏิบัติหรือไม ตองพิจารณาจากองคประกอบ
               ที่กลาวมาขางตน กลาวคือ การกระทํากอใหเกิดความแตกตางในการปฏิบัติ และกอใหเกิดผลกระทบที่เกิดจาก

               ความแตกตางที่หามมิใหมีการเลือกปฎิบัติอยางชัดเจน
                             กลาวโดยสรุป หลักความเสมอภาคและการไมเลือกปฏิบัตินั้น ถือเปนเหรียญสองดานของหลักการ

               เดียวกัน กลาวคือความเสมอภาคเทาเทียมจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อปราศจากการเลือกปฏิบัติ และการไมเลือกปฎิบัติ
               ระหวางกลุมบุคคลโดยมีพื้นฐานอันเนื่องมาจากความแตกตางก็จะนํามาซึ่งความเสมอภาค อยางไรก็ดี

               ในสถานการณที่แตกตางกันนั้น เพื่อประโยชนแหงความยุติธรรมและเพื่อขจัดความเหลื่อมลํ้าแตกตางที่ดํารงอยู
               หากมีการเลือกปฏิบัติ ใหถือวาเปนการเลือกปฏิบัติที่เปนธรรมและไมถือวาขัดแยงกับหลักความเสมอภาค ทั้งนี้

               เนื่องจากความเสมอภาคในที่นี้มิไดหมายความวา  ทุกคนจะตองไดรับการปฏิบัติอยางเดียวกันในทุกเรื่อง แตใหใช
               เกณฑสถานการณหรือสภาพ หากเปนอยางเดียวกันทุกคนจะตองไดรับการปฏิบัติเชนเดียวกัน ในขณะที่มี




               12   Sandra Fredman, Discrimination Law, Second Edition, Oxford University Press, 2011และ Anne Bayefsky, The Principle of Equality and
                 Non-Discrimination in International Law, 11 HRLJ (1990)
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45