Page 42 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 42
รายงานการศึกษาวิจัย 15
การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี
ระหวางป พ.ศ. 2531 - 2532 ประเด็นสิทธิมนุษยชนและเอชไอวี/เอดส ไดถูกนํามาพิจารณา
เปนครั้งแรกโดยองคการอนามัยโลก และ United Nations Centre of Human Rights ในเวทีหารือระหวาง
ประเทศ ครั้งที่ 1 วาดวยโรคเอดสและสิทธิมนุษยชน ซึ่งระบุวา การเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวีและกลุมเสี่ยง
ถือเปนอุปสรรคที่สําคัญตอการแกไขปญหาการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวีอยางมีประสิทธิภาพ หลักการดังกลาว
ยังถูกนําเสนอในขอมติแหงที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติในป 2534 และการประชุมเวทีอื่นๆ อีกดวย 21
ป พ.ศ. 2536 สํานักงานขาหลวงใหญสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติและโครงการโรคเอดส
แหงสหประชาชาติไดจัดการประชุมหารือระดับระหวางประเทศวาดวยเชื้อเอชไอวี/เอดสและสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ 2
และมีการรับหลักการแนวปฏิบัติระหวางประเทศวาดวยเชื้อเอชไอวี/เอดสและสิทธิมนุษยชน (International
Guidelines on HIV/AIDS and Human Rights) ซึ่งไดมีการแกไขปรับปรุงเมื่อป พ.ศ. 2545 และ 2549
22
ตามลําดับ แนวปฏิบัติดังกลาวไดวางแนวทางที่สําคัญในการคุมครองสิทธิมนุษยชนของผูติดเชื้อและผูอยูรวมกับ
เชื้อเอชไอวี แนวปฎิบัติฯ ไดกําหนดพันธกรณีของรัฐที่เกี่ยวกับสิทธิดังตอไปนี้ การไมถูกเลือกปฏิบัติทางสุขภาพ
การเขาถึงขอมูล การศึกษา การจางงาน สวัสดิการทางสังคม และการมีสวนรวมกับสาธารณะ ซึ่งเปนประเด็นสําคัญ
ตอการลดความเปราะบางทางสังคมของกลุมผูติดเชื้อเอชไอวี และเปนหลักประกันในการไดรับการดูแลและ
สนับสนุน ที่สําคัญไปกวานั้น แนวปฏิบัติขอที่ 5 ไดเสนอใหรัฐบัญญัติกฎหมายวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติ
เพื่อคุมครองกลุมผูเปราะบางทางสังคม ผูติดเชื้อเอชไอวีและคนพิการ จากการเลือกปฏิบัติทั้งในภาครัฐและ
ภาคเอกชน และใหหลักประกันสิทธิสวนบุคคลและหลักการรักษาความลับ รวมตลอดถึงจัดใหมีระบบการเยียวยา
จากการละเมิดสิทธิดังกลาวอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ในประเด็นเกี่ยวกับการจางงาน แนวปฏิบัติขอที่ 10
ไดกําหนดใหรัฐควรใหหลักประกันวา รัฐบาลและสถานประกอบการพัฒนาแนวปฏิบัติเกี่ยวกับประเด็นดานเอดส
กับการคุมครองสิทธิมนุษยชน แมวาแนวปฏิบัติฯ ไมมีผลผูกพันทางกฎหมาย แตไดวางหลักการที่สําคัญที่รัฐ
ควรนําไปปฏิบัติในการบัญญัติหรือปฏิรูปกฎหมาย 23
ป พ.ศ. 2544 ถือไดวามีความกาวหนาในการพัฒนากรอบกฎหมายและแนวปฎิบัติดานเอดส
อยางมากในการประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยพิเศษวาดวยโรคเอดส (United Nations General Assembly
on Special Session of AIDS หรือ UNGASS) ไดมีมติรับหลักการปฏิญญาวาดวยพันธกรณีเรื่องโรคเอดส
(Declaration of Commitment on HIV/AIDS) ซึ่งเปนมาตรการสากลที่ไมมีผลผูกพันทางกฎหมาย แตให
แนวทางในการดําเนินงานในการปองกันการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวี การดูแลและการสนับสนุน รวมตลอดถึง
บทบาทที่สําคัญของหลักการสิทธิมนุษยชนในการคุมครองกลุมผูติดเชื้อเอชไอวี ปฏิญญาดังกลาวยังใหความสําคัญ
กับหลักการไมเลือกปฏิบัติในทุกมิติ รวมถึงการไมเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของกลุมผูติดเชื้อเอชไอวี
(Discrimination at work) ซึ่งถือเปนปจจัยที่เปนอุปสรรคโดยใหพิจารณาควบคูไปกับแนวปฏิบัติระหวางประเทศ
วาดวยเชื้อเอชไอวี/เอดสและสิทธิมนุษยชน และในปเดียวกันนี้เอง UNAIDS ไดพัฒนา Protocol for the
Identification of Discrimination against People living with HIV (The Protocol) โดยมีจุดมุงหมายเพื่อเปน
21 ดูเพิ่มเติมใน Report of an International Consultation on AIDS and Human Rights, Geneva, 26 to 28 July 1989 (HR/PUB/90/2) และ
UN General Assembly resolution A/Res/46/203, 20 December 1991.
22 ดูเพิ่มเติม Report of the Secretary-General to the Commission on Human Rights, E/CN.4/1997/37
23 Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights and the Joint United Nations Programme on HIV/AIDS(OHCHR/
UNAIDS) (2006) HIV/AIDS and Human Rights, International Guidelines, (Consolidated version) (New York and Geneva,
UN)