Page 77 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 77

62     รายงานการศึกษาวิจัย
                 เรื่อง  ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





              ซึ่งกระทบตอสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลอยูภายใตการตรวจสอบควบคุมที่มีประสิทธิภาพ แมวาการตรวจสอบ
              ควบคุมนั้นจะมิใชการตรวจสอบควบคุมโดยศาลก็ตาม เนื่องจากคณะอนุกรรมาธิการและคณะกรรมาธิการ
              ตามที่กฎหมายสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนีกําหนดนั้น มีความเปนอิสระจากองคกรของรัฐที่ออกคําสั่งใหดําเนิน

              มาตรการเฝาสังเกตการณ และมีอํานาจเพียงพอที่จะทําการตรวจสอบควบคุมไดอยางมีประสิทธิภาพ ศาลจึง

              วินิจฉัยวาการดําเนินมาตรการดังกลาวขององคกรของรัฐชอบดวยกฎหมาย เปนสิ่งจําเปนในสังคมประชาธิปไตย
              ตอความปลอดภัยของประชาชน การคุมครองความสงบเรียบรอยและการปองกันการกระทําความผิดทางอาญา
              ตามเงื่อนไขที่บัญญัติไวในวรรคสองของขอ 8 ของอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและ

              เสรีภาพขั้นพื้นฐาน

                             2)   กรณีการตรวจดูจดหมายของผูตองขัง (le secret de la correspondance écrite des
              détenus)
                                 ตามคําวินิจฉัยของศาลแหงยุโรปดานสิทธิมนุษยชน ในคดี Campbell c/Royaume-Uni

                                     78
              เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 1992 ผูรองซึ่งถูกลงโทษจําคุกตลอดชีวิต (condamné à la prison à vie) ฐานฆาคนตาย
              (l’assassinat) ไดรองเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติที่ไมดี (de mauvais traitements) จากผูดูแลเรือนจํา (de gardiens
              de prison) ศาลไดตัดสินวาการเปดอานจดหมายระหวางทนายความและผูตองขังโดยเจาหนาที่เรือนจํา
              (les autorités pénitentiaires) เปนการกระทําอันเปนการแทรกแซงสิทธิของบุคคลที่จะไดรับการเคารพ

              ในการติดตอทางจดหมาย แมการดําเนินการดังกลาวจะมีกฎหมายบัญญัติใหกระทําไดและมีวัตถุประสงค

              ที่ชอบดวยกฎหมายเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยและการปองกันการกระทําความผิดทางอาญา แตอยางไรก็ตาม
              ศาลเห็นวาการดําเนินการเชนนั้น “มิใช” สิ่งจําเปนในสังคมประชาธิปไตยตอวัตถุประสงคที่มุงหมายนั้น เนื่องจาก
              จดหมายของผูตองขังมีสถานะที่จะตองไดรับสิทธิพิเศษ (un statut privilégié) ศาลใหเหตุผลวาจดหมาย

              ของผูตองขังที่มีไปถึงทนายความของตนจะถูกเปดอานโดยเจาหนาที่ของเรือนจําไดก็เฉพาะแตในกรณีที่เปน

              ขอยกเวนซึ่งมีเหตุอันสมควรที่จะเชื่อวาจดหมายนั้นมีเนื้อหาที่เปนการคุกคามความปลอดภัยขององคกรหรือ
              บุคคลอื่น (le contenu de la lettre menace la sécurité de l’établissement ou d’autrui) หรือที่มีลักษณะ
              เปนความผิด (le caractère délictueux) เทานั้น ดังนั้น เจาหนาที่เรือนจําจะสามารถเปดจดหมายที่ทนายความ

              มีไปถึงผูตองขังไดก็เฉพาะแตเมื่อเจาหนาที่มีเหตุผลอันนาจะเชื่อได (des motifs plausibles) วาจดหมายนั้น

              จะมีสิ่งผิดกฎหมายซึ่งมิอาจทําใหเปดเผยไดโดยวิธีการตรวจสอบปกติอยางอื่น แตอยางไรก็ตาม ในกรณีเชนนั้น
              เจาหนาที่เรือนจําจะตองเปดจดหมายนั้นตอหนาผูตองขังโดยตองไมอานจดหมายนั้น


















              78  Arrêt Campbell, 25 mars 1992, Volume n° 233 de la série A, § 8 et 9 V. F. SUDRE, J. C. P. 1993, I, 3654, n° 23.
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82