Page 81 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 81

66     รายงานการศึกษาวิจัย
                 เรื่อง  ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





              วาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขึ้นพื้นฐาน และกฎหมายภายในของประเทศตาง ๆ ทุกประเทศ
              สิทธิในความเปนอยูสวนตัวมีคุณคาในระดับรัฐธรรมนูญเลยทีเดียว ดังนั้น บุคคลทั้งหลายไมวาจะเปนองคกรของรัฐ
              หรือเอกชนดวยกัน จึงยอมมีหนาที่หรือความผูกพันตามกฎหมายที่จะตองเคารพสิทธิในความเปนอยูสวนตัว

              ของบุคคลอื่น และจะตองไมกระทําการอยางใด ๆ อันเปนการแทรกแซงหรือรุกลํ้าสิทธิดังกลาว ดังนั้น โดยหลักแลว

              องคกรของรัฐยอมจะดําเนินมาตรการใด ๆ อันเปนการแทรกแซงหรือลวงละเมิดการใชสิทธิในชีวิตสวนตัว
              ของบุคคลมิได อันจะเปนการขัดตอเจตนารมณของปฏิญญาสากลฯ และอนุสัญญาแหงยุโรปฯ อยางไรก็ตาม
              องคกรของรัฐอาจมีความจําเปนตองดําเนินมาตรการใด ๆ เพื่อ “ประโยชนสาธารณะ” อันอาจมีผลเปนการ

              แทรกแซงหรือลวงละเมิดสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลไดในบางกรณี แตทั้งนี้ การดําเนินมาตรการเชนนั้น

              โดยองคกรของรัฐจะกระทําไดก็ตอเมื่อเปนไปตามเงื่อนไขทั้งสามประการดังที่ไดบัญญัติไวในมาตรา 8 วรรคสอง
              ของอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานเทานั้น ซึ่งไดแก การดําเนิน
              มาตรการนั้นมีกฎหมายบัญญัติใหกระทําไดโดยยึดหลักการเขาถึงขอมูลของบุคคลที่เกี่ยวของ และการคาดหมาย

              ลวงหนาไดถึงผลของการใชบังคับของกฎหมายที่เกี่ยวกับตน การดําเนินมาตรการนั้นจะตองเปนไปเพื่อวัตถุประสงค

              ประการหนึ่งประการใดอันเกี่ยวดวยประโยชนสาธารณะตามที่บัญญัติไว อันไดแก ความมั่นคงแหงรัฐ ความสงบ
              เรียบรอยและความปลอดภัยของประชาชน ประโยชนทางเศรษฐกิจของประเทศ การปองกันการกระทําความผิด
              อาญาและการคุมครองสุขภาพและจิตใจ หรือการคุมครองสิทธิเสรีภาพของบุคคลอื่น และการดําเนินมาตรการนั้น

              จะตองเปนสิ่งจําเปนในสังคมประชาธิปไตยและไดสัดสวนกับการบรรลุวัตถุประสงค ที่มุงหมายนั้น โดยยึด

              “หลักความไดสัดสวน” ระหวางการดําเนินมาตรการนั้นกับผลที่เกิดขึ้นตอการแทรกแซงสิทธิในชีวิตสวนตัว
              ของบุคคล หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง เปนการชั่งนํ้าหนักระหวางประโยชนสาธารณะกับประโยชนของบุคคลที่เกี่ยวของ
              กับสิทธิในชีวิตสวนตัวเปนสําคัญ เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกสวนรวมและในขณะเดียวกันก็กอใหเกิดผลกระทบ

              ตอสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลที่เกี่ยวของใหนอยที่สุด
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86