Page 79 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 79

64     รายงานการศึกษาวิจัย
                 เรื่อง  ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                             2)   กรณีการสงบุตรผูเยาวไปยังสถานแรกรับ
                                 ในกรณีที่คูสามีภริยาไมสามารถเลี้ยงดูบุตรผูเยาวไดและไดสงบุตรผูเยาวของตนไปใหแก
              สํานักงานชวยเหลือสังคม (l’assistance publique) หรือสํานักงานฯ ใชดุลพินิจดําเนินการดังกลาวเอง

              ในกรณีเชนนั้น สํานักงานฯ อาจตองใชอํานาจตาง ๆ อันเปนอํานาจปกครอง (les prérogatives de l’autorité

              parentale) แทนบิดามารดาที่แทจริง โดยเฉพาะอํานาจในการดูแลบุตร (la garde de l’enfant) จํากัด
              หรือเพิกถอนสิทธิในการเยี่ยมของบิดามารดา ตลอดจนสงบุตรผูเยาวไปยังสถานแรกรับ (un foyer d’accueil)
              เพื่อการดูแลตอไป การตัดสินใจในเรื่องตางๆ ดังกลาวขางตนจะเปนการชอบดวยกฎหมายก็ตอเมื่อพิจารณา

              ถึงประโยชนของบุตร (l’intérêt de l’enfant) เปนสําคัญ แตทั้งนี้ การตัดสินใจตาง ๆ นั้นจะตองกระทําโดย

              รูถึงสถานะของบิดามารดาและสถานะของบุตร และอาจไดรับการตรวจสอบควบคุมโดยองคกรศาล (un contrôle
              judiciaire)
                                                                             80
                                 ในคดี B., H., O., R. et W. c/Royaume-Uni  ศาลแหงยุโรปดานสิทธิมนุษยชน
              พิจารณาวาการตัดสินใจเชนนี้ขององคกรของรัฐเปนการกระทําอันเปนการแทรกแซงในชีวิตครอบครัว ซึ่งจะเปน

              การกระทําโดยชอบตามนัยแหงวรรคสองของขอ 8 ก็ตอเมื่อการตัดสินใจตาง ๆ นั้นมีกฎหมายอางอิงได กระทําไป
              เพื่อวัตถุประสงคตามที่บัญญัติไวซึ่งในที่นี้ คือ สุขภาพจิตและสุขภาพรางกายของบุตร และเปนสิ่งจําเปนเพื่อให
              บรรลุวัตถุประสงคนั้นในสังคมประชาธิไปไตย ทั้งนี้ การตัดสินใจเชนนั้นจะตองกระทําโดยรูเห็นถึงสถานะของบิดา

              มารดาและสถานะของบุตรนั้น และองคกรของรัฐไดปรึกษาหารือกับบิดามารดาของบุตรนั้นกอนที่จะตัดสินใจ

              ดําเนินการใด ๆ การปรึกษาหารือเชนนั้นเปนขั้นตอนที่จําเปน (une phase obligatoire) ในกระบวนการตัดสินใจ
              ขององคกรของรัฐเลยทีเดียว
                               นอกจากนี้ ศาลยังไดอธิบายเพิ่มเติมวาการตัดสินใจหรือคําสั่งขององคกรของรัฐจะตอง

              สามารถถูกโตแยงหรือตรวจสอบไดโดยกระบวนการยุติธรรม (de recours judiciaires) เพื่อตรวจสอบ

              ถึงความชอบธรรมของการตัดสินใจหรือคําสั่ง (le bien-fondé de la décision) ขององคกรของรัฐ ทั้งนี้
              การตรวจสอบดังกลาวจะตองสามารถกระทําไดภายในเวลาอันสมควร (un délai rasionnable)
                               ดวยเหตุนี้ ศาลแหงยุโรปฯ จึงวินิจฉัยวากฎหมายแหงสหราชอาณาจักร (ที่มีการโตแยง

              ในเรื่องรองเรียนนี้) ไมเปนไปตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในวรรคสองของขอ 8 ของอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวย

              การคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน เนื่องจากกฎหมายดังกลาวอนุญาตใหองคกรของรัฐทําการ
              ตัดสินใจในเรื่องตาง ๆ ไดโดยไมจําตองปรึกษาหารือบิดามารดาของบุตรที่เกี่ยวของเสียกอน อีกทั้งไมสอดคลอง
              กับความในวรรคหนึ่งของขอ 6 ของอนุสัญญาแหงยุโรปฯ (เกี่ยวกับสิทธิที่จะไดรับการพิจารณาคดีที่เปนธรรม)

              เนื่องจากกฎหมายนั้นมิไดเปดชองใหศาลซึ่งรับคํารองโตแยงคําสั่งขององคกรของรัฐสามารถตรวจสอบความ

              ชอบธรรมของคําสั่งเชนนั้นไดแตอยางใด









              80  Arrêt B., H., O., R. et W. c/Royaume-Uni, Volume n° 120 de la série A des publications de la Cour;  B., R.
                และ  W. n° 121.
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84