Page 44 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 44

รายงานการศึกษาวิจัย  29
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





               วาดวยการกอใหเกิดความเสียหายตอความลับ (De l’atteinte au secret) นอกจากนี้ สาธารณรัฐฝรั่งเศส
               ยังไดตรากฎหมายเฉพาะอีกหลายฉบับเพื่อรับรองและคุมครองสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลอีกดวย ซึ่งจะได
               กลาวในรายละเอียดตอไป

                        สิทธิในชีวิตสวนตัวจึงนํามาซึ่งหนาที่ของบุคคลทั้งหลาย ที่จะตองใหความเคารพและตองไมกระทําการ

               อันเปนการแทรกแซงหรือลวงละเมิดสิทธิดังกลาวของบคุคลอื่น การพิจารณาวาการกระทําอยางหนึ่งอยางใด
               จะเปนการแทรกแซงหรือลวงละเมิดสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลโดยมิชอบดวยกฎหมายหรือไม ยอมประกอบดวย
               ขอพิจารณาสําคัญ 2 ประการ ไดแก ประการที่หนึ่ง กรณีเปนสิทธิในชีวิตสวนตัวตามนัยที่กฎหมายให

               ความคุมครองหรือไม และประการที่สอง กรณีเปนการแทรกแซงหรือการละเมิดสิทธิในชีวิตสวนตัวซึ่งเปนไป

               ตามหลักเกณฑที่กฎหมายที่เกี่ยวของกําหนดไวอยางเครงครัดหรือไม โดยนัยดังกลาว การคุมครองสิทธิในชีวิต
               สวนตัวยอมสงผลใหบุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะไดรับการเคารพในชีวิตสวนตัวของตน (le droit au respect de
               la vie privée) ไมวาบุคคลนั้นจะมีเชื้อชาติใด สัญชาติใด และมีฐานะอยางไร และองคกรของรัฐ ตลอดจน

               บุคคลอื่นทั้งหลายจะแทรกแซงหรือละเมิดสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลไดก็เฉพาะแตเมื่อมีบทบัญญัติแหง

               กฎหมายใหอํานาจไว และเพื่อ “ประโยชนสาธารณะ” เทานั้น อีกทั้งการแทรกแซงหรือการละเมิดสิทธินั้นจะตอง
               เปนไปตาม “ความจําเปน” และ “ความเหมาะสม” ดวย
                        ดวยเหตุที่สาธารณรัฐฝรั่งเศสเปนรัฐภาคีแหงอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชน

               และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ดังนั้น นอกจากสาธารณรัฐฝรั่งเศสมีหนาที่ที่จะตองไมกระทําการใด ๆ อันเปนการ

               แทรกแซงสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลโดยมิชอบแลว สาธารณรัฐฝรั่งเศสยังมีหนาที่ที่จะตองดําเนินการตาง ๆ
               เพื่อใหสิทธิดังกลาวไดรับการเคารพอยางแทจริงจากปจเจกชนดวยกันอีกดวย ทําใหมีการกําหนดมาตรการ
               ทางกฎหมายเพื่อการคุมครองสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลทั้งในทางแพงและในทางอาญา นอกจากนี้

               ในยุคโลกาภิวัตนเชนในปจจุบัน เทคโนโลยีและระบบขอมูลสารสนเทศไดเขามามีบทบาทสําคัญในชีวิตประจําวัน

               ของบุคคลทั้งหลายและอาจสงผลกระทบตอสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลได ดังนั้น ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส
               จึงไดกําหนดมาตรการทางกฎหมายขึ้นเพื่อคุมครองสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลซึ่งสามารถแบงออกไดเปน
               (1) มาตรการคุมครองตามกฎหมายทั่วไป (2) มาตรการคุมครองตามกฎหมายเฉพาะ และ (3) การคุมครอง

               สิทธิในความเปนอยูสวนตัวของผูตองขังของสาธารณรัฐฝรั่งเศส ซึ่งมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

                        2.2.1   มาตรการคุมครองตามกฎหมายทั่วไป
                              มาตรการคุมครองสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลตามกฎหมายทั่วไป ไดแก (1) มาตรการคุมครอง
               ทางแพงโดยการรับรองสิทธิในชีวิตสวนตัวและกําหนดความรับผิดทางแพงแกผูกอใหเกิดความเสียหายแก

               สิทธิในชีวิตสวนตัวของผูเสียหาย และ (2) มาตรการลงโทษทางอาญาสําหรับการกระทําที่กอใหเกิดความเสียหาย

               อยางรายแรงแกสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล
                              1)   มาตรการคุมครองทางแพง
                                  มาตรการคุมครองทางแพงตอสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล ประกอบดวยมาตรการสําคัญ

               2 ประการ ไดแก
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49