Page 39 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 39

24     รายงานการศึกษาวิจัย
                 เรื่อง  ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





              อยางหนึ่งอยางใดนั้นจะเปนการแทรกแซงหรือลวงละเมิดสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลซึ่งไดรับการรับรองและ
              คุมครองไวในอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานโดยมิชอบหรือไม เพราะเหตุใด
                       2.1.2   ขอจํากัดสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล : การแทรกแซงสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล

              โดยองคกรของรัฐ

                             แมวาโดยหลักแลว สิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลยอมจะตองไดรับการคุมครองจากการถูกแทรกแซง
              โดยองคกรของรัฐและบุคคลอื่นใด อยางไรก็ตาม ในบางสถานการณ องคกรของรัฐอาจมีความจําเปนที่จะตอง
              ดําเนินมาตรการอยางหนึ่งอยางใดเพื่อประโยชนสาธารณะ หากแตการดําเนินมาตรการนั้นอาจมีผล

              เปนการแทรกแซง (l’ingérence) หรือลวงละเมิดสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลประการใดประการหนึ่งดังที่ได

              กลาวแลวขางตน
                             โดยนัยดังกลาว องคกรของรัฐจะดําเนินมาตรการอันมีผลเปนการแทรกแซงสิทธิในชีวิตสวนตัวของ
              บุคคลหนึ่งไดโดยชอบดวยกฎหมายจะตองเปนไปตามเงื่อนไขตางๆ ดังที่บัญญัติไวในวรรคสองของขอ 8

              ของอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานซึ่งประกอบดวยเงื่อนไขสําคัญ

              สองประการ ไดแก (1) เงื่อนไขเกี่ยวกับบุคคลผูกระทําการอันเปนการแทรกแซงสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล
              และ (2) เงื่อนไขเกี่ยวกับการกระทําอันเปนการแทรกแซงสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล
                             1)   เงื่อนไขเกี่ยวกับบุคคลผูกระทําการอันเปนการแทรกแซงสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล

                                 เมื่อไดพิจารณาความในวรรคสองของขอ 8 ของอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครอง

              สิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานซึ่งกําหนดวา “การแทรกแซงการใชสิทธิสวนตัวของบุคคลโดยองคกรของรัฐ
              จะกระทําไดก็เฉพาะแตเมื่อ « ...แลว จะเห็นไดวาบุคคลผูอาจกระทําการอันเปนการแทรกแซงสิทธิในชีวิตสวนตัว
              ของบุคคลอื่นโดยมีเหตุอันชอบธรรมที่จะกระทําเชนนั้นไดจํากัดเฉพาะแต“องคกรของรัฐ” หรือ “เจาหนาที่

              ของรัฐ” (une autorité publique) เทานั้น กลาวอีกนัยหนึ่งองคกรของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐจะกระทําการ

              หรือดําเนินมาตรการอยางหนึ่งอยางใดอันมีผลเปนการแทรกแซงสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลหนึ่งได เฉพาะแตใน
              “ความสัมพันธระหวางองคกรของรัฐกับเอกชน” (les rapports de la puissance publique et des particuliers)
              เทานั้น

                                 โดยนัยดังกลาว ความดังกลาวขางตนมิไดหมายความวา หากผูกระทําหรือดําเนินมาตรการ

              อันเปนการแทรกแซงสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลเปนเอกชนเชนเดียวกับบุคคลซึ่งสิทธิของตนถูกแทรกแซงนั้น
              หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง การกระทําอันเปนการแทรกแซงสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลเกิดขึ้นใน “ความสัมพันธ
              ระหวางเอกชน” ดวยกันเอง (les rapports entre particuliers) แลวผูกระทําการเชนนั้นจะสามารถกระทําได

              หรือไมมีความรับผิดใด ๆ และสามารถยกขอยกเวนตามความวรรคสองของขอ 8 ของอนุสัญญาแหงยุโรป

              วาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานเปนขอกลาวอางแตอยางใด ตรงกันขาม ในทางวิชาการ
              กฎหมายมีการตีความโดยทั่วไปวาสิทธิมนุษยชนประการตาง ๆ ดังที่ไดรับการรับรองและคุมครองในปฏิญญาสากล
              วาดวยสิทธิมนุษยชนและอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานจะตอง

              ตีความอยางกวาง และไดรับการรับรองและคุมครองไมเพียงแตในความสัมพันธระหวางองคกรของรัฐและเอกชน

              เทานั้น หากแตยังไดรับการรับรองและคุมครองในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันเองอีกดวย การตีความ
              ในแนวทางดังกลาวยังไดรับการยืนยันตามขอ 13 ของอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44