Page 34 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 34

รายงานการศึกษาวิจัย  19
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                                                          บทที่ 2




                          สิทธิในความเปนสวนตัว และการรับรองและคุมครองในตางประเทศ



                        ในการศึกษาเกี่ยวกับการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัวในตางประเทศ คณะผูวิจัย
               ไดแบงหัวขอการศึกษากฎหมายตางประเทศที่เกี่ยวกับการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว

               ออกเปน 5 หัวขอ ไดแก
                        2.1   การคุมครองสิทธิในชีวิตสวนตัวตามกรอบอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชน

               และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน
                        2.2   สิทธิในความเปนสวนตัวและการรับรองและคุมครองในประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส

                        2.3   สิทธิในความเปนสวนตัวและการรับรองและคุมครองในประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี
                        2.4   สิทธิในความเปนสวนตัวและการรับรองและคุมครองในประเทศสหรัฐอเมริกา

                        2.5   ตัวอยางคดีรองเรียนเกี่ยวกับการกระทําขององคกรของรัฐอันเปนการแทรกแซงสิทธิในชีวิตสวนตัว
               ของบุคคล ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้



               2.1 การคุมครองสิทธิในชีวิตสวนตัวตามกรอบอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชน

               และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน


                        สิทธิในชีวิตสวนตัว (Droit à la vie privée) เปนสิทธิมนุษยชนประการหนึ่ง (un droitde l’homme)
               ที่ไดรับการรับรองและคุมครองไวอยางชัดแจงในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Déclaration Universelle

               des Droits de l’Homme) ลงวันที่ 10 ธันวาคม 1948 โดยกําหนดไวในขอ 12 ความวา “บุคคลใดจะถูกแทรกแซง
               ตามอําเภอใจในชีวิตสวนตัว ครอบครัว ที่อยูอาศัย หรือการสื่อสารหรือจะถูกลบหลูเกียรติยศและชื่อเสียงไมได

               ทุกคนมีสิทธิที่จะไดรับความคุมครองของกฎหมายตอการแทรกแซงสิทธิหรือการลบหลูดังกลาวนั้น”  นอกจากนี้
                                                                                                  16
               สิทธิในชีวิตสวนตัวยังไดรับการรับรองและคุมครองไวในอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชน

               และเสรีภาพขั้นพื้นฐาน (Convention Européenne de Sauvegarde des Droits de l’Homme et des
               Libertés Fondamentales)  อีกดวย โดยกําหนดไวในขอ 8 ความวา “1. บุคคลทุกคนมีสิทธิไดรับการเคารพ
                                        17
               ในชีวิตสวนตัวและครอบครัว ที่อยูอาศัยและการสื่อสาร 2. การแทรกแซงการใชสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล
               โดยองคกรของรัฐจะกระทําไดก็เฉพาะแตเมื่อมีกฎหมายบัญญัติใหกระทําได และการแทรกแซงดังกลาว





               16  Déclaration Universelle des Droits de l’Homme du 10 décembre 1948, J.O. 19 février 1949
                 Article 12 « Nul ne sera l’objet d’immixtions arbitraires dans sa vie privée, sa famille, son domicile ou sa
                 correspondance, ni d’atteintes à son honneur et à sa réputation. Toute personne a droit à la protection
                 de la loi contre de telles immixtions ou de telles atteintes. »
               17  Signée le 4 novembre 1950 et entrée en vigueur le 3 septembre 1953
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39