Page 35 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 35

20     รายงานการศึกษาวิจัย
                 เรื่อง  ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





              เปนมาตรการที่จําเปนในสังคมประชาธิปไตยตอความปลอดภัยแหงชาติ ความมั่นคงของรัฐ ประโยชนทางเศรษฐกิจ
              ของประเทศ การรักษาความสงบเรียบรอยและการปองกันการกระทําความผิดทางอาญา การคุมครองสุขภาพหรือ
                                                           18
              จิตใจ หรือการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น”
                       การศึกษาการคุมครองสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลตามกรอบอนุสัญญาแหงยุโรปดังกลาวจะเปน

              ประโยชนอยางยิ่งตอความเขาใจในเนื้อหาสาระและขอบเขตของสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล ตลอดจนขอจํากัด
              สิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลดวย ซึ่งสามารถแบงหัวขอการศึกษาการคุมครองสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล
              ตามกรอบอนุสัญญาแหงยุโรปออกไดเปน  2  หัวขอ ดังนี้

                       2.1.1   สิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล (Droit au respect à la vie privée)

                             สิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลที่ไดรับการรับรองและคุมครองในฐานะเปนสิทธิมนุษยชน
              ประการหนึ่ง ดังที่บัญญัติไวในขอ 8 วรรคหนึ่ง ของอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและ
              เสรีภาพขั้นพื้นฐาน ประกอบดวย สิทธิในชีวิตสวนตัว 4 ประการสําคัญ ไดแก สิทธิในชีวิตสวนตัวอันเกี่ยวกับขอมูล

              สวนบุคคล (droit à la vie privée) สิทธิในชีวิตครอบครัว (droit à la vie familiale) สิทธิในชีวิตสวนตัว

              เกี่ยวกับที่พักอาศัย (droit au respect du domicile) และสิทธิในชีวิตสวนตัวในการติดตอทางจดหมาย (droit au
              respect aux correspondances) ทั้งนี้ สิทธิของบุคคลในเรื่อง ๆ หนึ่งอาจมีลักษณะหลาย ๆ ประการ
              รวมกัน เชน เปนทั้งสิทธิในชีวิตสวนตัวอันเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลและสิทธิในชีวิตครอบครัวก็ได

                             โดยนัยดังกลาว สิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลยอมจะตองไดรับการเคารพ ทั้งจากองคกร

              ของรัฐและบุคคลอื่นทั้งหลายดวยกันเองในอันที่จะตองไมกระทําการใด ๆ อันเปนการแทรกแซง (l’ingérence)
              หรือลวงละเมิดสิทธิเหลานี้ของบุคคลคนหนึ่ง รัฐจึงมีหนาที่กระทําการในการกําหนดมาตรการอันเปนหลักประกัน
              สิทธิเพื่อใหสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลไดรับการคุมครอง การคุมครองสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลดังที่บัญญัติ

              ไวในขอ 8 วรรคหนึ่ง ดังกลาว เปนการคุมครอง

                             ในสองลักษณะสําคัญ กลาวคือ การคุมครองในแง “ความลับเกี่ยวกับชีวิตสวนตัว” (la protection
              du secret de la vie privée) และการคุมครองในแง “เสรีภาพเกี่ยวกับชีวิตสวนตัว” (la protection de
              la liberté de la vie privée) ทั้งนี้ การคุมครองสิทธิในชีวิตสวนตัวในทั้งสองลักษณะดังกลาวมิไดแยกออกจากกัน

              โดยเด็ดขาด หากแตมีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน

                             ในสวนนี้จึงแบงหัวขอในการศึกษาออกไดเปน 2 ประการ ไดแก (1) ลักษณะของสิทธิในชีวิต
              สวนตัวของบุคคล และ (2) ขอบเขตของสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล




              18  Convention Européenne de la Sauvegarde des Droits de l’Homme et des Libertés fondamentales
                 Article 8
                 « 1. Toute personne a droit au respect de sa vie privée et familiale, de son domicile et de sa correspondance.
                2. Il ne peut y avoir ingérence d’une autorité publique dans l’exercice de ce droit que pour autant que cette
                ingérence est prévue par la loi et qu’elle constitue une mesure qui, dans une société démocratique,
                est nécessaire à la sécurité nationale, à la sûreté publique, au bien-être économique du pays, à la défense
                de l’ordre et à la prévention des infractions pénales, à la protection de la santé ou de la morale,
                ou à la protection des droits et libertés d’autrui. »
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40