Page 37 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 37

22     รายงานการศึกษาวิจัย
                 เรื่อง  ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





              โดยนัยดังกลาว สิทธิในชีวิตสวนตัวยอมไดรับการรับรองเพื่อคุมครองพลเมือง (citoyens) ตอการใชอํานาจ
              โดยมิชอบ (les abus) ขององคกรของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐ และในขณะเดียวกันสิทธิในชีวิตสวนตัวก็ไดรับ
              การรับรองเพื่อคุมครองบุคคลหนึ่งตอการกดขี่ขมเหง (l’oppression) ของบุคคลอีกคนหนึ่งอันเนื่องมาจาก

              การไดเปรียบหรือมีกําลังเหนือกวาทางรางกาย ทางความคิด หรือทางเศรษฐกิจ การรับรองและคุมครองสิทธิ

              ในชีวิตสวนตัวของบุคคลจึงมีเจตนารมณเพื่อคุมครองเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเปนมนุษย (la liberté et
              la dignité de l’homme) นั่นเอง
                             2)   ขอบเขตแหงสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคล

                                 สิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลตามที่ไดรับการรับรองและคุมครองไวในปฏิญญาสากลวาดวย

              สิทธิมนุษยชนและอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานนํามา
              ซึ่งสิทธิที่บุคคลจะไดรับการคุมครองจากการแทรกแซงหรือการลวงละเมิดสิทธิดังกลาวจากบุคคลทั้งหลาย
              การคุมครองสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลมิไดจํากัดอยูแตเพียงการคุมครองความลับในชีวิตสวนตัว (le secret

              de la vie privée) ตอการสอบสวน (les investigations) และการเปดเผย (la divulgation) โดยองคกรของรัฐ

              หรือบุคคลอื่นใดเทานั้น หากแตยังครอบคลุมถึงการคุมครองเสรีภาพในชีวิตสวนตัวอีกดวย
                             โดยนัยดังกลาว สิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลที่ไดรับการรับรองและคุมครอง ประกอบดวย
              สิทธิในชีวิตสวนตัว 4 ประการ ดังนี้

                                 (1)  สิทธิในชีวิตสวนตัวอันเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคล (Droit au respect de la vie

              privée)
                                      สิทธิในชีวิตสวนตัว ไดแก สิทธิที่บุคคลทุกคนจะไดรับการเคารพจากองคกรของรัฐ
              และบุคคลทั้งหลายในอันที่จะไมเขาไปสืบสวน เก็บบันทึก หรือเปดเผยเกี่ยวกับชีวิตสวนตัวซึ่งเปนความลับในชีวิตสวนตัว

              ของตน อันเปนการแทรกแซงหรือละเมิดสิทธิในชีวิตสวนตัว โดยนัยเชนนี้การคุมครองสิทธิในชีวิตสวนตัวของ

              บุคคลจึงเปนการคุมครองในแงความลับเกี่ยวกับชีวิตสวนตัว เชน ขอมูลเกี่ยวกับประวัติวัยเยาวของบุคคลคนหนึ่ง
              ขอมูลเกี่ยวกับประวัติการกระทําความผิดทางอาญา และภาพถาย ตลอดจนลายพิมพนิ้วมือ (des empreintes
              digitales) ของบุคคลคนหนึ่ง ชีวิตสวนตัวเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคล (les données à caractère personnel)

              ชีวิตสวนตัวอันเกี่ยวกับรสนิยมทางเพศหรือความเปนตัวตนในเรื่องเพศ (une identité sexuelle)

                                      สิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลยังไดรับการคุมครองในแงของเสรีภาพเกี่ยวกับ
              ชีวิตสวนตัวอีกดวย ศาลแหงยุโรปดานสิทธิมนุษยชนไดเคยอธิบายไวในคดีหนึ่งวา “…สิทธิที่จะไดรับการเคารพ
              ในชีวิตสวนตัวยังรวมถึงสิทธิที่จะกอความสัมพันธกับมนุษยคนอื่น โดยเฉพาะในเรื่องที่เกี่ยวกับความรูสึกเสนหา

                                                                 22
              เพื่อพัฒนาและตอบสนองความเปนตัวตนของบุคคลนั้นดวย”  สิทธิในชีวิตสวนตัวที่จะไดรับการคุมครองในแงนี้
              ไดแก เสรีภาพในการมีความสัมพันธกับบุคคลอื่น ซึ่งครอบคลุมไปถึงเสรีภาพในการมีความสัมพันธทางเพศ
              (les relations sexuelles) กับบุคคลอื่นทั้งเสรีภาพในความสัมพันธทางเพศระหวางชายและหญิง (la liberté des



              22  Req. n° 6825/74, X. c/l’Islande, Décision de la Commission du 18 mai 1976, Ann., 1976, p. 343. Le droit au
                respect de la vie privée  « comprend…dans une certaine mesure, le droit d’établir et de développer des liens
                avec d’autres êtres humains, notamment dans le domaine affectif, pour développer et épanouir sa propre
               personnalité ».
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42