Page 36 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 36

รายงานการศึกษาวิจัย  21
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                              1)   ลักษณะของสิทธิในชีวิตสวนตัว
                                  ชีวิตสวนตัว (Vie privée) ของบุคคลมาจากศัพทภาษาลาตินวา “privatus” ซึ่งหมายถึง
               “การแยกออกจาก” (séparé de) หรือ “การปราศจากหรือไมมี” (dépourvu de) สิทธิในชีวิตสวนตัวจึงไดแก

               ความสามารถหรือความประสงคของบุคคล (หรือกลุมบุคคล) ที่จะใชหรือดําเนินชีวิตสวนตัวของตนเอง

               เปนเอกเทศจากบุคคลอื่น หรือในลักษณะที่ไมทําใหปรากฏแกบุคคลอื่น (l’anonymat) โดยนัยดังกลาว
               สิทธิในชีวิตสวนตัวจึงสัมพันธกับ “ความรูสึกพิเศษสวนตัว” ในสิ่งหนึ่งสิ่งใดของบุคคลหนึ่ง และเชื่อมโยง
               กับแนวความคิดเกี่ยวกับ “สิทธิเสรีภาพ” ของบุคคลที่จะดําเนินชีวิตหรือกระทําตามความพึงพอใจหรือตามวิถี

               ของบุคคลนั้น แมวาการจะใหคํานิยามของคําวา “สิทธิในชีวิตสวนตัว” จะเปนเรื่องยากและมิอาจกําหนด

               ในลักษณะที่เครงครัดตายตัวได แตคําวา “สิทธิในชีวิตสวนตัว” มีขอบเขตที่กวางขวางกวาคําวา “สิทธิในความเปน
                                                          19
               สวนตัว” (Droit à l’intimité) หรือ “Privacy”  ทั้งนี้ ตามที่ศาลแหงยุโรปดานสิทธิมนุษยชน (La Cour
               européenne des droits de l’homme - CEDH ou Cour de Strasbourg) ไดเคยวินิจฉัยไวในคดี Niemietz

                                           20
               c/Allemagne ในป ค.ศ. 1992  วา “ดูจะเปนการเครงครัดจนเกินไป หากกําหนดนิยามคําวา “สิทธิในชีวิต
               สวนตัว” ใหจํากัดเฉพาะแตในกรอบของความเปนสวนตัว (« cercle intime ») ซึ่งบุคคลแตละคนสามารถ
               ดําเนินชีวิตสวนตัวของตนใหเปนไปตามความพึงพอใจของตนและแยกโลกภายนอกออกไปจากกรอบดังกลาว
               โดยสิ้นเชิง การเคารพตอสิทธิในชีวิตสวนตัวยังตองครอบคลุมถึงสิทธิของบุคคลที่จะกอใหเกิดและพัฒนา

               ความสัมพันธตางๆ กับบุคคลที่คลายคลึงกันอีกดวย” ดังนั้น สิทธิในชีวิตสวนตัวจึงยอมรวมถึงสิทธิที่จะพัฒนา

               ความสัมพันธกับบุคคลทั้งหลายและติดตอกับโลกภายนอกดวย
                                  สิทธิในชีวิตสวนตัวจึงเปนสิทธิโดยธรรมชาติที่ติดอยูกับตัวบุคคลและติดมากับตัวบุคคล
               ในฐานะเปน “มนุษย” คนหนึ่ง (personne humaine) และมิอาจจะถูกพรากไปจากบุคคลได มิใชสิทธิที่กฎหมาย

               รับรองหรือมอบใหแกบุคคลหนึ่งอันเนื่องมาจากสถานะทางกฎหมายของบุคคลนั้น (un statut juridique

               particulier) ซึ่งอาจถูกเพิกถอนได (révocable) โดยนัยดังกลาว สิทธิในความเปนสวนตัวจึงเปนสิทธิของบุคคลธรรมดา
               หรือสิทธิที่บุคคลธรรมดาเปนผูทรงสิทธิ (droit de l’individu) เทานั้น
                                  การรับรองและคุมครองสิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลโดยปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน

               และอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน จึงมุงที่จะคุมครองสิ่งตาง ๆ

               ที่เกี่ยวกับชีวิตสวนตัวของบุคคลเปนสําคัญ กลาวอีกนัยหนึ่ง บุคคลทุกคนยอมมีสิทธิที่จะไดรับการเคารพ
               จากบุคคลทั้งหลายในเรื่องตาง ๆ ที่เกี่ยวกับชีวิตสวนตัวของบุคคลนั้นอันไดแก การเคารพความลับในชีวิตสวนตัว
               และการเคารพเสรีภาพในการใชชีวิตสวนตัวของบุคคล ทั้งนี้สิทธิในชีวิตสวนตัวของบุคคลยอมตองไดรับการเคารพ

               ทั้งในความสัมพันธระหวางองคกรของรัฐกับปจเจกชนทั้งหลาย (les rapports de l’autorité publique et des

               particuliers) และในความสัมพันธระหวางปจเจกชนดวยกันเอง (les rapports entre particuliers) ดวย
                                                                                                           21

               19  Ursula Kilkelly, Le droit au respect de la vie privée et familiale, Un guide sur la mise en œuvre de l’aricle 8
                 de la Convention européenne des Droits de l’Homme, Conseil de l’Europe, 2003, p. 10.
               20  Arrêt Niemietz c/Allemagne, du 16 décembre 1992.
               21  Pierre KAYSER, La protection de la vie privée par le droit, Protection au secret de la vie privée, 3e éd.,
                 1995, n° 6, p. 17 et s.
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41