Page 31 - การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัว และการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน
P. 31
ซึ่งได้รับการจดทะเบียนและใบอนุญาตทำางานชั่วคราวปีต่อปี และ
กลุ่มแรงงานตามตะเข็บชายแดน ได้แก่ ประเภทเช้าไปเย็นกลับ และ
แรงงานไป-กลับ ซึ่งสามารถอยู่ในไทยได้ ๗ วัน เนื่องจากขณะนี้ยัง
ไม่มีระบบบริหารจัดการที่จะดูแลควบคุมการใช้สิทธิตั้งสหภาพแรงงาน
ของแรงงานข้ามชาติซึ่งมีอยู่เป็นล้านคน
๖) ผู้แทนของกระทรวงกลาโหม สำานักงานคณะ
กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสำานักงาน
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เห็นด้วยกับการแก้ไขกฎหมายภายในให้รองรับ
อนุสัญญาไว้ก่อน
๗) ผู้แทนของสำานักงานคณะกรรมการปฏิรูป
กฎหมาย
ขณะนี้ (วันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๗) คณะกรรมการ
ปฏิรูปกฎหมายอยู่ระหว่างการศึกษาและดำาเนินการปรับปรุง
ร่างกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ โดยยึดตามแนวอนุสัญญาทั้งสองฉบับ
โดยมีการยกร่างประมวลกฎหมายแรงงานขึ้นใหม่
๘) ผู้แทนของกรมการปกครอง
การเข้าเป็นภาคีก่อนหรือการจะแก้ไขกฎหมายภายใน
ก่อนนั้น ที่ผ่านมาประเทศไทยใช้ทั้งสองแนวทาง สำาหรับการเข้าเป็น
ภาคีทั้งสองฉบับนี้ ควรจะต้องพิจารณาในรายละเอียดว่ามีข้อกำาหนด
ให้ต้องมีกฎหมายภายในรองรับก่อนหรือไม่ ประการใด
๙) ผู้แทนของสำานักงานตรวจคนเข้าเมือง
แรงงานข้ามชาติ ๓ สัญชาติ ที่ผ่านเรื่องการพิสูจน์
และฉบับที่ ๙๘ ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน 29
การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ ๘๗ ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว