Page 111 - ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : เล่ม 1 ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม 2554 - 31 ธันวาคม 2557
P. 111

109
                                                   ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ
                                                   ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  เล่ม ๑  ระหว่าง ๑ มีนาคม ๒๕๕๔ – ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗




                                                   (๒)  ลงโทษผู้ถูกกระทำานั้นเอง

                                                   (๓)  ข่มขืนใจให้ผู้ถูกกระทำานั้นเอง หรือผู้อื่นกระทำาการใด ไม่กระทำา
                     การใด หรือจำายอมต่อสิ่งใด

                                                   เจ้าพนักงานผู้นั้นกระทำาความผิดฐานกระทำาทรมาน ต้องระวาง
                     โทษจำาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจำาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท

                                                   ......................................................”
                                            ๒.๒.๒)  ร่�งพระร�ชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหม�ยวิธีพิจ�รณ�คว�ม

                     อ�ญ� (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ม�ตร� ๓  ให้เพิ่มเติมความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๙๐/๑ แห่งประมวลกฎหมาย
                     วิธีพิจารณาความอาญา

                                            “มาตรา ๙๐/๑ เมื่อมีการอ้างว่าบุคคลใดถูกกระทำาทรมาน ทารุณกรรม
                     หรือลงโทษด้วยวิธีการที่โหดร้าย หรือไร้มนุษยธรรม บุคคลเหล่านี้มีสิทธิยื่นคำาร้องต่อศาลยุติธรรม

                                            (๑)  ผู้เสียหาย
                                            (๒)  พนักงานอัยการ

                                            (๓)  พนักงานสอบสวน
                                            (๔) บุคคลอื่นใดเพื่อประโยชน์ของผู้เสียหาย

                                            เมื่อได้รับคำาร้องดังนั้น ให้ศาลดำาเนินการไต่สวนฝ่ายเดียวโดยด่วน ถ้าศาล
                     เห็นว่าคำาร้องนั้นมีมูล และเห็นว่าเป็นกรณีจำาเป็นต้องให้ความคุ้มครองบุคคลผู้ถูกอ้างว่าถูกกระทำา

                     โดยเร็ว ให้ศาลมีอำานาจสั่งให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้บังคับการตำารวจแห่งท้องที่ที่บุคคลผู้ถูกอ้างว่า
                     ถูกกระทำาอยู่ หรือบุคคลอื่นตามที่ศาลเห็นสมควร หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากบุคคลดังกล่าว

                     นำาเจ้าพนักงาน และผู้เชี่ยวชาญเก็บพยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ โดยพลัน เพื่อนำาตัวบุคคลผู้ถูกอ้าง
                     ถูกกระทำาพร้อมทั้งพยานหลักฐานมาศาลเพื่อไต่สวนด้วยก็ได้ หากเป็นที่เชื่อแก่ศาลว่ามีการกระทำา

                     ต่อบุคคลดังที่กล่าวอ้าง ให้ศาลมีคำาสั่งกำาหนดมาตรการคุ้มครองชั่วคราวเพื่อมิให้บุคคลนั้นถูกกระทำา
                     อีกต่อไป และศาลอาจมีคำาสั่งให้ผู้กระทำาจัดการแก้ไขเพื่อเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่บุคคล

                     ผู้ถูกกระทำาตามที่เห็นสมควรก็ได้
                                            ................................................”

                                            ๒.๒.๓)  ในก�รประชุมดังกล่�ว (เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎ�คม ๒๕๕๖) ผู้เข้าร่วม
                     ประชุมได้มีความเห็นต่อร่างกฎหมายทั้งสองฉบับ ดังนี้

                                                   (๑)  ถ้อยคำาตามมาตรา ๑๖๖/๑ อาจยังไม่สอดคล้องกับอนุสัญญา
                     ต่อต้านการทรมานฯ ดังนี้

                                                       (๑.๑)  วรรคหนึ่งของมาตรา ๑๖๖/๑ ประเภทของเจ้าพนักงาน
                     ของรัฐที่กำาหนดไว้ในร่างกฎหมายดังกล่าว อาจยังไม่ครอบคลุมเจ้าพนักงานของรัฐทุกประเภทตาม

                     ความมุ่งหมายของอนุสัญญาฯ เช่น เจ้าพนักงานของรัฐซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในสถาบันจิตเวช เป็นต้น
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116