Page 114 - ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : เล่ม 1 ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม 2554 - 31 ธันวาคม 2557
P. 114

112   ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ
                  ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  เล่ม ๑  ระหว่าง ๑ มีนาคม ๒๕๕๔ – ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗




                                                -  ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ยังไม่ได้บัญญัติ

                  ห้ามทรมานและการลงโทษอื่นที่โหดร้ายในกระบวนการสอบสวนของเจ้าหน้าที่ทหารและตำารวจ
                                         ๓.๑.๓)  แนวท�งอนุวัติกฎหม�ยภ�ยในต�มอนุสัญญ�ต่อต้�นก�รทรม�นฯ

                  คือ
                                                -  แก้ไขประมวลกฎหมายอาญา โดยให้ระบุนิยามคำาว่า การ

                  กระทำาทรมาน เป็นฐานความผิดทางอาญา รวมทั้งกำาหนดโทษสำาหรับการกระทำาความผิดดังกล่าว
                  เป็นโทษจำาคุกตั้งแต่ ๒ ปี ถึง ๑๕ ปี

                                   ๓.๒)  ประเทศญี่ปุ่น (เข้าเป็นภาคี เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๒)

                                         ๓.๒.๑)  กฎหม�ยภ�ยในและม�ตรก�ร
                                                -  รัฐธรรมนูญ  มาตรา ๓๖  ห้ามการทรมานและการลงโทษที่

                  โหดร้าย โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐอย่างเด็ดขาด
                                                                                         ๗๔
                                                -  ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๙๕ และ ๑๙๖  ได้กำาหนด
                  ให้การกระทำาที่รุนแรงและโหดร้ายโดยเจ้าหน้าที่รัฐเป็นความผิด แต่ยังไม่ครอบคลุมบางประเด็น
                  เช่น การทรมานทางจิตใจ อีกทั้งบทลงโทษของการกระทำาความผิดบางประการ เช่น การข่มขู่ ยังไม่

                  ครอบคลุมเจ้าพนักงานทุกประเภท ๗๕
                                         ๓.๒.๒)  แนวท�งอนุวัติกฎหม�ยและก�รริเริ่ม/ปรับปรุงม�ตรก�รต่�งๆ ต�ม

                  อนุสัญญ�ต่อต้�นก�รทรม�นฯ
                                                -  ญี่ปุ่นได้จัดตั้งกลไกการติดตามตรวจสอบการคุมขังและป้องกัน

                  การเกิดความรุนแรง เช่น คณะกรรมการผู้ตรวจการสถานที่คุมขัง (Board of Visitors for Inspection
                  of Penal Institutions) คณะกรรมการทบทวนและสอบสวนข้อร้องเรียนของผู้ต้องขังในสถานที่คุมขัง

                  (Review and Investigation Panel on Complaints by Inmates in Penal Institutions)
                  คณะกรรมการผู้ตรวจการการคุมขังของตำารวจ (Board of Visitors for Inspection of Police

                  Custody) ๗๖











                  ๗๔  รายงานการปฏิบัติตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ ฉบับแรกของญี่ปุ่น (เอกสารสหประชาชาติ ที่ CAT/C/
                       JPN/1), ข้อ ๒, หน้า ๖.
                  ๗๕  Committee Against Torture, Conclusions and Recommendations: Japan, 2007 (เอกสารสหประชาชาติ
                       ที่ CAT/C/JPN/CO/1), ข้อ ๑๐, หน้า ๒.
                  ๗๖  ดูเพิ่มเติมได้ที่ http://www.hurights.or.jp/archives/newsinbrief-en/section2/2007/05/un-committee-
                       against-torture-considered-report-of-japan.html
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119