Page 107 - ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : เล่ม 1 ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม 2554 - 31 ธันวาคม 2557
P. 107

105
                                                   ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ
                                                   ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  เล่ม ๑  ระหว่าง ๑ มีนาคม ๒๕๕๔ – ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗




                           ๑.๑.๒  ข้อมูลประกอบการพิจารณา

                                  ๑)  คำ�ร้องและข้อมูลเกี่ยวกับก�รกระทำ�ทรม�น

                                      ๑.๑)  ช่วง พ.ศ. ๒๕๔๗ - ๒๕๕๖ (ณ วันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๖) คณะกรรมการ
                     สิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับคำาร้องเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำาทรมาน จำานวน ๘๘ คำาร้อง

                     เป็นคำาร้องที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จำานวน ๖๘ คำาร้อง เป็นคำาร้องซึ่งเกิดขึ้นใน
                                                                             ๖๔
                     พื้นที่อื่น ๒๐ คำาร้อง ตัวอย่างคำาร้องที่อยู่ในข่ายการกระทำาทรมาน เช่น

                                            ๑.๑.๑)  คำ�ร้องที่ ๑๐๒/๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๔๙ เจ้าหน้าที่
                     ทหารนำาผู้ร้องไปสอบสวนคดีปล้นปืนที่ค่ายกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ จังหวัดนราธิวาส

                     การสอบสวนใช้การข่มขู่ให้สารภาพ เตะท้อง ชกที่หน้า กระแทกศีรษะด้วยเหล็กฉาก ใช้ไฟฟ้าช็อต
                     ใช้บุหรี่จี้ร่างกาย นำาสุนัขมาล่ามใกล้ๆ

                                            ๑.๑.๒)  คำ�ร้องที่ ๔๕๒/๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ จังหวัด
                     ยะลา ผู้เสียหายถูกเจ้าหน้าที่ทหารควบคุมตัว และเสียชีวิตในวันรุ่งขึ้น จากการตรวจร่างกายพบว่า

                     มีบาดแผลจากการถูกยิงและบาดแผลอื่นที่เกิดจากถูกตีด้วยของแข็งไม่มีคมหลายแห่ง ทำาให้ปอดช้ำา
                     ซี่โครงหัก

                                            ๑.๑.๓)  คำ�ร้องที่ ๗๖๖/๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ จังหวัด
                     ปัตตานี เจ้าหน้าที่ทหารและตำารวจจับกุมผู้ร้องคดีก่อความไม่สงบ การสอบสวนใช้การขังเดี่ยวใน

                     ห้องมืด ตีด้วยของแข็ง เตะและเหยียบที่ลำาตัว ข่มขู่ให้ลงชื่อรับสารภาพ
                                            ๑.๑.๔)  คำ�ร้องที่ ๓๑/๒๕๕๑ เมื่อวันที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๕๐ จังหวัด

                     ปัตตานี เจ้าหน้าที่ทหารจับผู้ร้องคดีลอบยิงครูโรงเรียนบ้านป่าทุ่ง การสอบสวนใช้การบังคับให้ถอด
                     เสื้อผ้า ราดน้ำา ให้อยู่ในห้องที่อุณหภูมิต่ำามาก ตบศีรษะ และถีบหน้า

                                            ๑.๑.๕)  คำ�ร้องที่ ๗๐๕/๒๕๕๒ เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๒ จังหวัด
                     ปัตตานี เจ้าหน้าที่ทหารเชิญผู้ร้องไปสอบถามกรณีปืนของเจ้าหน้าที่ทหารที่โรงเรียนบ้านค่ายหายไป

                     การสอบสวนใช้ระยะเวลานานต่อเนื่องกว่า ๑๘ ชั่วโมง จนเครียดและต้องเข้ารับการรักษาใน
                     โรงพยาบาล

                                            ๑.๑.๖)  คำ�ร้องที่ ๑๕๒/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ เจ้าหน้าที่
                     ทหารได้สอบสวนผู้ร้องโดยทำาร้ายร่างกายให้รับสารภาพ ให้อยู่ในห้องอุณหภูมิต่ำาต่อเนื่อง ๒๔ ชั่วโมง

                     ตบหน้า ถีบและต่อยท้อง คลุมหัวด้วยถุงดำาจนเกือบขาดอากาศหายใจ








                     ๖๔  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, สิทธิในกระบวนการยุติธรรมในกรณีการตรวจสอบคำาร้องที่กล่าวหาว่า
                         มีการกระทำาทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษอื่นที่ไร้มนุษยธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้, พ.ศ. ๒๕๕๔,
                         หน้า ๑๖ - ๓๑.
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112