Page 113 - ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : เล่ม 1 ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม 2554 - 31 ธันวาคม 2557
P. 113

111
                                                   ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ
                                                   ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  เล่ม ๑  ระหว่าง ๑ มีนาคม ๒๕๕๔ – ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๗




                                            ๒.๓.๓)  พนักง�นอัยก�รจะส�ม�รถคัดเลือกกลั่นกรองพย�นหลักฐ�นต่�งๆ

                     ที่สำ�คัญ และวิเคราะห์น้ำาหนักพยานได้ว่าเพียงพอในการดำาเนินคดีหรือไม่ หากปรากฏว่ามีการละเมิด
                     กฎหมายของเจ้าพนักงาน

                                            ๒.๓.๔)  เนื่องจ�กผู้เกี่ยวข้องกับกรณีนี้มักเป็นเจ้�หน้�ที่ตำ�รวจ การดำาเนิน
                     การของพนักงานอัยการจะเป็นอิสระและเที่ยงธรรม เพราะอยู่คนละหน่วยงานและมีสายบังคับบัญชา

                     ที่แตกต่างกัน รวมทั้งพนักงานอัยการเป็นผู้รับผิดชอบในการยื่นคำาร้องดำาเนินการไต่สวนในศาล
                     ตามลักษณะงานในหน้าที่โดยตรง

                                  ๓)  กรณีศึกษ�ของต่�งประเทศ
                                                               ๗๐
                                      ๓.๑)  สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (เข้าเป็นภาคีเมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๓
                     โดยได้ตั้งข้อสงวน ข้อ ๓๐ วรรคแรก ของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ) ๗๑

                                            ๓.๑.๑)  กฎหม�ยภ�ยในและม�ตรก�ร
                                                   -  รัฐธรรมนูญแห่งอินโดนีเซีย มาตรา ๒๗ วรรคแรก  พระราช-

                     กฤษฎีกา ค.ศ. ๑๙๙๘ หมายเลข ๑๗ เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน มาตรา ๒๕  กฎหมาย ค.ศ. ๑๙๙๙
                     หมายเลข ๓๙  เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน มาตรา ๔  และมาตรา ๒๘ G วรรคสอง  และรัฐธรรมนูญแก้ไข

                     ฉบับที่ ๒ มาตรา ๒๘ i วรรคแรก ซึ่งบัญญัติห้ามการทรมาน ๗๒
                                                   -  กฎหมายว่าด้วยศาลสิทธิมนุษยชน (Law on Human Rights

                     Court) ซึ่งกล่าวถึงการทรมานในบริบทของอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ (Crimes against Humanity)
                     โดยระบุว่าการทรมานจะเป็นความผิดทางอาญาได้ เฉพาะกรณีการทรมานซึ่งกระทำาอย่างกว้างขวาง

                     และเป็นระบบ (Broad and Systematic)
                                            ๓.๑.๒)  กฎหม�ยอ�ญ�ที่ยังไม่สอดคล้องต�มอนุสัญญ�ต่อต้�นก�รทรม�นฯ

                                                   -  ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๕๑-๓๕๘ ว่าด้วยทุรกรรม
                     (maltreatment) ซึ่งเป็นบทบัญญัติที่ใช้บังคับเป็นการทั่วไป (มิใช่เฉพาะกรณีการกระทำาโดยเจ้าหน้าที่

                     ของรัฐเท่านั้น) มีบทลงโทษจำาคุกตั้งแต่ ๒ - ๙ ปี ๗๓




                     ๗๐  Amnesty International, Indonesia: Briefing to the UN Committee against Torture, 2008.
                     ๗๑  ข้อพิพาทใดระหว่างรัฐภาคีสองรัฐหรือกว่านั้นขึ้นไปที่เกี่ยวกับการตีความหรือการใช้บังคับของอนุสัญญานี้
                         ที่ไม่สามารถระงับได้โดยการเจรจา ต้องมอบให้อนุญาโตตุลาการวินิจฉัยชี้ขาดตามคำาร้องขอของรัฐภาคีคู่พิพาท
                         รัฐใดรัฐหนึ่ง  หากภายในหกเดือนนับจากวันที่มีการร้องขอให้มีการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ
                         คู่พิพาทยังไม่สามารถตกลงกันได้ในเรื่องการจัดให้มีการวินิจฉัยชี้ขาดโดยอนุญาโตตุลาการ  คู่พิพาทฝ่ายใด
                         ฝ่ายหนึ่งมีสิทธิที่จะส่งข้อพิพาทนั้นไปยังศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตามคำาร้องขอตามธรรมนูญของศาลฯ
                     ๗๒  รายงานประเทศฯ ฉบับที่ ๒ ต่อคณะกรรมการประจำาอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ เมื่อปี ๒๕๔๘
                     ๗๓  การชี้แจงของรัฐบาลอินโดนีเซียต่อประเด็นคำาถาม (ข้อ ๑) ของคณะกรรมการประจำาอนุสัญญาต่อต้านการ
                         ทรมานฯ ในการพิจารณารายงานประเทศ ฉบับที่ ๒ เมื่อปี ๒๕๕๑, ดูได้ที่ http://www2.ohchr.org/english/
                         bodies/cat/cats40.htm (หัวข้อ List of issues and Written replies ของประเทศอินโดนีเซีย)
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118