Page 263 - รายงานศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยผังเมืองกับการคุ้มครองสิทธิชุมชนและสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน
P. 263

232


                  เหมาะสมที่เป9นการร0วมกําหนดและลดความขัดแยงในระดับโครงการ อีกทั้งเป9นแนวทางการวางผังในระดับ

                  ชุมชนอีกดวย


                        การประเมินสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร. เป9นเครื่องมือและกลไกที่ใชเชื่อมประสานการทํางานของ


                  หลายฝRายเขาดวยกัน  เริ่มจากการกําหนดทิศทางการพัฒนาใหเกิดดุลยภาพทั้งเศรษฐกิจ สังคมและ

                  สิ่งแวดลอมไปพรอมกันบนฐานกระบวนการที่ผูมีส0วนไดเสียไดเขามาร0วมตัดสินใจเลือกการพัฒนานั้นๆ โดย

                  มีพื้นฐานของการบริหารจัดการที่ดี มีความรับผิดชอบร0วมกัน การพิจารณาฐานศักยภาพ เงื่อนไข บริบท

                  ต0างๆทั้งทางบวกและลบ จึงเป9นทั้งเครื่องมือและกลไกหนึ่งที่จะนํามาสู0การบูรณาการทั้งความคิดและการ

                  ปฏิบัติการ ใหเกิดการทํางานอย0างมีระบบและมีกระบวนการตัดสินใจอย0างมีส0วนร0วม โดยมุ0งเปEาของการ

                  พัฒนาที่ยั่งยืนบนศักยภาพและเงื่อนไขของการพัฒนาในระยะยาว  ซึ่งการพัฒนานโยบายและแผนที่

                  เกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่นี้ กระบวนการ  SEA จะมีส0วนสําคัญในการกําหนดเปEาประสงค.การพัฒนาและ

                  ทางเลือกเชิงยุทธศาสตร.


                         ดังนั้น การแกไขป5ญหาผังเมืองและการส0งเสริมสิทธิชุมชนและสิทธิการมีส0วนร0วมของประชาชน จึง

                  มิใช0เพียงการแกไขกระบวนการวางผังหรือกฎหมายผังเมืองเพียงเท0านั้น  ควรมีการส0งเสริมสิทธิชุมชนและ

                  สิทธิการมีส0วนร0วมของประชาชนในการกําหนดทางเลือก ทิศทางของชุมชนในกระบวนการประเมิน

                  สิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร. อันเป9นเครื่องมือสําคัญที่จะกําหนดทิศทาง ทางเลือกการพัฒนาพื้นที่และลด


                  การขัดกันของการใชประโยชน.ที่ดินจากการพัฒนาที่ไม0สอดคลองกัน


                         หน0วยงานที่กําหนดนโยบายเชิงพื้นที่ในดานต0างๆ เช0น สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ

                  เศรษฐกิจและสังคมแห0งชาติ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกรมโยธาธิการ

                  และผังเมืองจึงควรจัดทําการประเมินผลกระทบระดับยุทธศาสตร.และประสานกับหน0วยงานที่จัดทําแผน

                  แม0บทพัฒนาพื้นที่ดานต0างๆ ที่จะใชเครื่องมือการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร.ไปใช

                  ประโยชน.ในกระบวนการกําหนดนโยบาย การตัดสินใจและกระบวนการวางผังเมืองใหเกิดทางเลือกในการ

                  พัฒนาพื้นที่อย0างมีส0วนร0วม


                         2) ใหกรมโยธาธิการและผังเมืองจัดทําคูมือ แนวทางการใชหลักการคุมครองลวงหนา หลักการ

                  มีสวนรวม และหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อเป9นแนวทางสําหรับหน0วยงานที่เกี่ยวของในการปฏิบัติและใช


                  ประโยชน.จากผังเมืองในการใชอํานาจและการทําหนาที่ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2518  และ

                  กฎหมายที่เกี่ยวของ เช0น พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติส0งเสริมและรักษา
   258   259   260   261   262   263   264   265   266   267   268