Page 265 - รายงานศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยผังเมืองกับการคุ้มครองสิทธิชุมชนและสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน
P. 265
234
แสดงความรับผิดชอบในการตัดสินใจนโยบายสาธารณะ โดยแสดงการลงมติและมีการบันทึกเป9นลายลักษณ.
อักษรในการใหความเห็นชอบ หรือไม0เห็นชอบในการลงมติ เพื่อเป9นการส0งเสริมกระบวนการตัดสินใจ
สาธารณะที่เป9นธรรมาภิบาล มีเหตุผล หลักการ มีความเป9นธรรมโปร0งใสตรวจสอบไดและความพรอม
รับผิดชอบ
2) กรมโยธาธิการและผังเมืองควรประสานงานกับสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาใน
การศึกษาเพื่อรวมกําหนดแนวทางแกไขป@ญหาในขั้นตอนการตรวจสอบรางผังเมืองและราง
กฎกระทรวง เนื่องจากผังเมืองส0วนใหญ0 ใชเวลานานมากในขั้นตอนการตรวจของสํานักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกาเพื่อใหมีความถูกตองของพื้นที่นามศัพท.และขอความทางกฎหมายในขณะที่สํานักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกามีภารกิจอื่นนอกเหนือจากดานผังเมือง ดังนั้น กรมโยธาธิการและผังเมืองจึงควรมี
การประสานงานกับสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เพื่อร0วมศึกษากําหนดแนวทางการแกไขป5ญหาความ
ล0าชา ทั้งในดานขอบเขตปริมาณงานกรอบเวลาและขอจํากัดดานบุคลากรรวมทั้งกลไกและการประสานงาน
เพื่อตรวจสอบความถูกตองในระดับพื้นที่
6.2.3 ขอเสนอแนะดานกฎหมาย
1) การปรับปรุงพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.2518 ในสวนของโครงสรางและองค8ประกอบ
ของกรรมการผังเมืองและการกระจายอํานาจการตัดสินใจดวยการมีสวนรวมในระดับพื้นที่ ทองถิ่นและ
ชุมชน กรมโยธาธิการและผังเมือง ควรดําเนินการดวยการมีส0วนร0วม โดยเพิ่มกลไกคณะกรรมการผังเมือง
ในระดับจังหวัดและระดับทองถิ่นที่มีอํานาจการตัดสินใจผังเมือง การจําแนกบทบาท อํานาจหนาที่ระหว0าง
คณะกรรมการผังเมืองระดับชาติ ระดับจังหวัดและระดับทองถิ่นใหชัดเจนโดยมีการกําหนดหลักเกณฑ. ที่มา
และองค.ประกอบของคณะกรรมการ ที่มีสัดส0วนขององค.กรชุมชน องค.กรเอกชน ในดาน
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและสุขภาพร0วมเป9นกรรมการโดยมีสัดส0วนที่เหมาะสม โดยกรรมการแต0ละ
ระดับควรมีองค.ประกอบจากกลุ0มภาครัฐภาคประชาสังคมผูทรงคุณวุฒิ และองค.กรชุมชน ในจํานวนที่
เท0ากันและในแต0ละกลุ0มควรมีจํานวนกรรมการที่มาจากทั้งดานการพัฒนาทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม
สิ่งแวดลอม และสุขภาพรวมทั้งพัฒนากลไกการประสานงาน การสนับสนุนทางวิชาการจากส0วนกลางไปยัง
หน0วยงานและกลไกการวางผังและพิจารณาผังในระดับจังหวัดและระดับทองถิ่นดวย