Page 231 - รายงานศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยผังเมืองกับการคุ้มครองสิทธิชุมชนและสิทธิการมีส่วนร่วมของประชาชน
P. 231
200
รองขอดังกล$าวเปBนขอมูลประกอบในการพิจารณาหนังสือรองขอฉบับอื่น ที่ยื่นเขามาภายในกําหนดเวลา
29
ได
คณะผูวิจัยเห็นว$า ระยะเวลาที่กําหนดใหผูมีส$วนไดเสีย ยื่นคํารองภายใน 90 วัน เปBนระยะเวลา
เร$งรัด (délaiindicatif) ซึ่งกฎหมายกําหนดใหกระทําการหรือไม$กระทําการอย$างใดอย$างหนึ่ง ภายใน
ระยะเวลาที่กําหนด โดยมิไดมีสภาพบังคับว$าหากไม$กระทําตามกรอบระยะเวลาดังกล$าว จะส$งผลต$อความ
ไม$ชอบดวยกฎหมายอย$างไร อีกทั้งไม$ไดเปBนระยะเวลาที่มุ$งคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนโดยตรง แต$
ระยะเวลาดังกล$าวเปBนการกําหนดระยะเวลาที่มีวัตถุประสงค0เพื่อเร$งรัดใหสํานักผังเมืองหรือเจาพนักงาน
ทองถิ่นดําเนินการรวบรวมคํารอง และส$งใหคณะกรรมการผังเมืองพิจารณา ก$อนดําเนินการจัดทําผังเมือง
ในขั้นตอนต$อๆไป
ทั้งนี้ การดําเนินการตามระยะเวลาเร$งรัด แมว$าจะล$วงเลยระยะเวลาที่กําหนดไว ก็จะตอง
30
ดําเนินการภายในระยะเวลาอันสมควรดวย ซึ่งกรณีการรับพิจารณาคํารองที่ยื่นเกินกําหนดระยะเวลา
90 วัน ก็เช$นเดียวกัน การที่สํานักผังเมืองหรือเจาพนักงานทองถิ่นจะรับคํารองไวพิจารณา ตองเปBนคํารองที่
แมจะยื่นเกิน 90 วัน แต$ก็ยังอยู$ในระยะเวลาอันสมควรที่ไม$ยาวนานจนเกินไป มิใช$เปEดรับพิจารณาคํารองที่
เกินระยะเวลาทุกคํารองอย$างไม$สิ้นสุด อันอาจก$อใหเกิดป;ญหาการจัดทําผังเมืองล$าชา เหมือนเช$นกรณี
ตัวอย$างผังเมืองรวมจังหวัดสมุทรสงครามได
นอกจากนี้ กรณีการยื่นคํารองเมื่อพนกําหนดระยะเวลาดังกล$าว มีบทบัญญัติตามกฎหมายที่
สามารถนํามาเทียบเคียงได กล$าวคือ พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 ซึ่งมี
สาระสําคัญ คือ
มาตรา 65 ระยะเวลาที่กําหนดไวในคําสั่งของเจาหนาที่อาจมีการขยายอีกได ถา
ระยะเวลานั้นไดสิ้นสุดลงแลว เจาหนาที่อาจขยายโดยกําหนดใหมีผลยอนหลังไดเช$นกัน ถาการ
สิ้นสุดตามระยะเวลาเดิมจะก$อใหเกิดความไม$เปBนธรรมที่จะใหสิ้นสุดตามนั้น
29
หนังสือคณะกรรมการที่ปรึกษากฎหมายประธานวุฒิสภา สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา ที่ สว(คกม) 0012.12/114 ลง
วันที่ 28 เมษายน 2553
30
ระยะเวลาบังคับ (délaiimperatif) และระยะเวลาเร$งรัด (délaiindicatif) กับเงื่อนไขความชอบดวยกฎหมายของการ
กระทําทางปกครอง, ณรงค0ฤทธิ์ เพชรฤทธิ์,http://www.pub-law.net/publaw/view.aspx?id=1917