Page 67 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 67
และอาจไม่สามารถคุ้มครองบุคคลที่ถูกบังคับให้สูญหายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
๓) นายปกป้อง ศรีสนิท ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมายอาญา ให้
ความเห็น ดังนี้
๓.๑) สาระตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ และอนุสัญญา
ระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลมิให้ถูกบังคับให้สูญหายมี
ความเกี่ยวพันกัน การมอบหมายให้หน่วยงานเดียวรับผิดชอบภารกิจตาม
อนุสัญญาทั้งสองฉบับน่าจะเป็นไปได้ โดยเน้นการติดตามและเยียวยา
ส่วนการสอบสวนควรร่วมกับตำารวจ หรือกรมสอบสวนคดีพิเศษ ซึ่งมี
ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์
๓.๒) การแก้ไขประมวลกฎหมายอาญา เป็นเพียงการเพิ่ม
ฐานความผิด ไม่ครอบคลุมภารกิจตามอนุสัญญาฯ ได้แก่
๓.๒.๑) การกำาหนดความผิดสำาหรับผู้บังคับบัญชาที่รู้
ข้อมูลที่ชี้ชัดว่า ผู้ใต้บังคับบัญชาได้กระทำาผิดหรืออาจกระทำาผิดฐานบังคับ
ให้บุคคลสูญหาย แต่ไม่ดำาเนินการยับยั้งหรือป้องกันการกระทำาดังกล่าว
๓.๒.๒) การไม่สามารถอ้างสถานการณ์ฉุกเฉินเพื่อ
ความชอบธรรมในการบังคับให้บุคคลสูญหาย
๓.๒.๓) การห้ามคุมขังบุคคลในสถานที่ลับ
๓.๒.๔) ข้อกำาหนดเกี่ยวกับการรวบรวมและเก็บรักษา
เอกสารทางทะเบียนที่บันทึกเกี่ยวกับผู้ถูกทำาให้สูญหาย
๓.๒.๕) การให้ญาติหรือทนายความสามารถเข้าถึง
ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ถูกทำาให้สูญหายและสามารถร้องเรียน ซึ่งต้องได้รับการ
ตรวจสอบข้อกล่าวหาโดยพลันและอย่างเที่ยงธรรม
การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม 65
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย