Page 70 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 70
๒.๑.๑) ข้อ ๓๑ ยอมรับอำานาจของคณะกรรมการ
ที่จะรับและพิจารณาข้อร้องเรียนในเขตอำานาจศาลตน จากบุคคลที่
อ้างว่าเป็นเหยื่อจากการละเมิดโดยประเทศเนเธอร์แลนด์
๒.๑.๒) ข้อ ๓๒ ยอมรับอำานาจของคณะกรรมการ
ที่จะรับและพิจารณาคำาร้องจากรัฐภาคีหนึ่งว่าอีกรัฐภาคีหนึ่งมิได้ปฏิบัติ
ตามพันธกรณีภายใต้อนุสัญญาฯ
๒.๒) การอนุวัติกฎหมายภายใน ได้แก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
เช่น พระราชบัญญัติอาชญากรรมระหว่างประเทศ โดยเพิ่มนิยามการ
บังคับให้บุคคลสูญหาย กำาหนดให้การบังคับให้บุคคลสูญหายเป็นความผิด
อาญาและเป็นอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ กำาหนดความรับผิดของผู้บังคับ
บัญชา และแก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (Code of
Criminal Procedure) โดยกำาหนดบทลงโทษ ทั้งโทษจำาคุกและปรับ ๕๓
๕๔
๓) ประเทศอาร์เจนตินา (เข้าเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่าง
ประเทศว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลมิให้ถูกบังคับให้สูญหาย เมื่อวันที่ ๑๔
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐)
๓.๑) คำาแถลงตีความ ประเทศอาร์เจนตินาได้ยอมรับอำานาจ
คณะกรรมการ ตามมาตรา ๓๑ และ ๓๒ ตามอนุสัญญาระหว่างประเทศ
ว่าด้วยการคุ้มครองบุคคลมิให้ถูกบังคับให้สูญหาย
๕๓ OHCHR, Report of the Kingdom of the Netherland submitted under article 29 paragraph 1 of CED,
2013, www. ohchr.org/Documents/HRBodies/CED/SPReports/Report_art29.1_Netherlands.pdf
๕๔ สถาบันวิจัยและให้คำาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ, ผลการศึกษามาตรการ
ดำาเนินการรองรับการเข้าเป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย, ตุลาคม
๒๕๕๓, หน้า ๔.
68 การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย