Page 62 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 62

นายปรีดี  พนมยงค์ หายตัวไป  ต่อมาศาลพิพากษาจำาคุกตลอดชีวิต
            ผู้ต้องหาซึ่งเป็นตำารวจ ๓ ราย  เมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๔๙๗ นายพร

            มะลิทอง นักการเมืองฝ่ายค้านสมัยรัฐบาลพลตำารวจเอก เผ่า  ศรียานนท์
                                       ้
            ถูกลักพาไป ต่อมาพบศพในแม่นำาเจ้าพระยา  ในช่วงทศวรรษ ๒๔๙๐
            และ ๒๕๐๐  รัฐบาลมีนโยบายปราบปรามคอมมิวนิสต์ เป็นผลให้มี

            ชาวบ้านถูกจับกุม ควบคุมตัว และสังหารอย่างพลการจำานวนมาก
            ภายหลังการประท้วงทางการเมืองเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๖ และพ.ศ. ๒๕๑๙

            มีการใช้กองกำาลังของรัฐปราบปรามและสังหารผู้ประท้วง แต่ไม่มีการ
            ฟ้องคดีดังกล่าว และไม่มีการลงโทษผู้รับผิดชอบต่อการสังหารนี้
            ช่วงคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ปกครองประเทศ

            เดือนมิถุนายน ๒๕๓๔ นายทนง โพธิ์อ่าน วุฒิสมาชิกสายแรงงานและ
            ผู้รณรงค์ต่อต้านการพยายามของรัฐในการยุบสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ
                      ๔๑
            ได้หายตัวไป
                  ๔)  ช่วงพ.ศ. ๒๕๔๔ ถึงปัจจุบัน “การถูกบังคับให้สูญหาย” ใน
            ประเทศไทยเป็นผลจากนโยบายของรัฐ ๒ ประการ คือ การต่อต้านการ

            ก่อความไม่สงบในภาคใต้ (นับแต่ พ.ศ. ๒๕๔๔) และการปราบปราม
            ยาเสพติด (เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๖) กล่าวคือ ในการปราบปรามการก่อความ
            ไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้  ทุกรัฐบาลใช้นโยบายที่คล้ายกันและ

            มีนโยบายอย่างน้อย ๓ ประการที่ส่งผลให้เกิดสภาพที่นำาไปสู่การหายตัว
                     ๔๒
            ของบุคคล    ดังนี้
                                                               ๔๓
                      ๔.๑) กรอบกฎหมายพิเศษด้านความมั่นคง ๓ ฉบับ   ที่ใช้

            ๔๑  มูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ, การบังคับบุคคลให้สูญหายในประเทศไทย, พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕, หน้า ๑๒ – ๑๕..
            ๔๒  มูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ, การบังคับบุคคลให้สูญหายในประเทศไทย, พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕, หน้า ๑๕ – ๑๘.
            ๔๓  ได้แก่ พระราชบัญญัติกฎอัยการศึก พระพุทธศักราช ๒๔๕๗ พระราชกำาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์
                ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ และพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑



       60      การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม
               หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
               รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67