Page 69 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 69
๑.๑.๕) ข้อ ๒๔ วรรค ๔ การชดใช้ค่าเสียหายและ
ค่าสินไหมทดแทน ไม่ยกเลิกเพิกถอนหลักความคุ้มกันของรัฐจากการ
ถูกฟ้องร้องในศาลของรัฐอื่น (Principle of State Immunity)
๕๑
๑.๒) การอนุวัติกฎหมายภายใน มีแนวทาง คือ
๑.๒.๑) แก้ไขกฎหมายโดยเพิ่มหมวดอาชญากรรม
ต่อมนุษยธรรม ในประมวลกฎหมายว่าด้วยอาชญากรรมระหว่างประเทศ
ค.ศ. ๒๐๐๒ (พ.ศ. ๒๕๔๕) ซึ่งกำาหนดให้ลงโทษแก่ผู้กระทำาผิดฐานทำาให้
บุคคลสูญหาย โดยตั้งใจโยกย้ายบุคคลออกจากการคุ้มครองตามกฎหมาย
เป็นระยะเวลานาน ด้วยการลักพาตัวและปฏิเสธไม่ให้ข่าวสารเกี่ยวกับ
ผู้ถูกบังคับให้สูญหาย อันเป็นการกระทำาภายใต้การเห็นชอบของ
หน่วยงานของรัฐหรือผู้มีอำานาจหน้าที่
๑.๒.๒) กำาหนดเป็นนโยบายด้านสิทธิมนุษยชน
ประจำาปี ค.ศ. ๒๐๐๕ – ๒๐๐๖ (พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๔๙) ว่าด้วยการต่อต้าน
การทรมานและการบังคับให้บุคคลสูญหาย
๒) ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ (เข้าเป็นภาคีเมื่อวันที่ ๒๓
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔)
๒.๑) คำาแถลงตีความต่ออำานาจของคณะกรรมการตาม
๕๒
ข้อ ๓๑ และ ๓๒ แห่งอนุสัญญาระหว่างประเทศฯ
๕๑ Customary IHL-Practice Relating to Rule 98, Enforced Disappearance, www.icrc.org/customary-ihl/
en/docs/v2_cou_de_rule 98
๕๒ UNTC, treaties.un.org/Pages?ViewDetails.aspx?src=TREATY&,tdsg_no=IV-16&chapter=4&lang=en
การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม 67
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย