Page 43 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 43
(๒) คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลให้พ้นจากการ
ล่วงละเมิด ทั้งโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ และโดยบุคคลอื่น และต้องอำานวย
ความยุติธรรมแก่ประชาชนอย่างเท่าเทียมกัน
(๓) .........................
๕) ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๙๐ เมื่อมีการอ้างว่าบุคคลใดต้องถูกคุมขังในคดีอาญา
หรือในกรณีอื่นใดโดยมิชอบด้วยกฎหมาย บุคคลเหล่านี้มีสิทธิยื่นคำาร้อง
ต่อศาลท้องที่ที่มีอำานาจพิจารณาคดีอาญาขอให้ปล่อย คือ
(๑) .....................................
เมื่อได้รับคำาร้องดั่งนั้น ให้ศาลดำาเนินการไต่สวนฝ่ายเดียว
โดยด่วน ถ้าศาลเห็นว่า คำาร้องนั้นมีมูล ศาลมีอำานาจสั่งผู้คุมขังให้นำาตัว
ผู้ถูกคุมขังมาศาลโดยพลัน และถ้าผู้คุมขังแสดงให้เป็นที่พอใจแก่ศาล
ไม่ได้ว่าการคุมขังเป็นการชอบด้วยกฎหมาย ให้ศาลสั่งปล่อยตัวผู้ถูกคุมขัง
ไปทันที
๑.๑.๔ ความเห็นของคณะอนุกรรมการด้านเสนอแนะนโยบาย
และข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎเพื่อส่งเสริมและคุ้มครอง
สิทธิมนุษยชน
คณะอนุกรรมการฯ ได้ให้ความเห็นต่อการอนุวัติกฎหมายภายใน
ตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ ดังนี้
๑) การอนุวัติกฎหมายภายในด้วยการแก้ไขกฎหมายเดิม ควร
สำารวจกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด รวมถึงกฎเกณฑ์ คำาสั่ง วิธีการ
และแนวปฏิบัติและเสนอแก้ไขเป็นชุดไปพร้อมกัน เพื่อให้ครอบคลุม
การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม 41
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย