Page 47 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 47
๑.๒.๒ ข้อมูลประกอบการพิจารณา
๑) ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
๑.๑) เรือนจำาและสถานคุมขังเกือบทุกแห่งในประเทศไทย
่
มีสภาพตำากว่ามาตรฐานและแออัด มีที่นอนและบริการด้านการแพทย์
ไม่พอเพียง มีการขังผู้อยู่ระหว่างรอปล่อยตัวรวมกับนักโทษทั่วไป ห้องกัก
ของสำานักงานตรวจคนเข้าเมืองยังไม่เป็นไปตามมาตรฐานของเรือนจำา
มีสภาพแออัด บริการทางการแพทย์ขั้นพื้นฐานยังไม่เพียงพอ มีอาหาร
ไม่พอเพียงและไม่สอดคล้องกับวัฒนธรรมของผู้ต้องกักบางคน เช่น
ผู้ต้องกักชาวมุสลิม ทั้งมีรายงานว่า ผู้ต้องกักในห้องกักบางแห่งถูกผู้คุม
๒๙
ทำาร้าย ไม่อนุญาตให้ผู้ต้องกักที่เป็นเด็กออกกำาลังกาย
๑.๒) งานวิจัยเรื่อง คุกไทย ๒๕๕๔ โดยสมาคมสิทธิเสรีภาพ
๓๐
ของประชาชน (สสส.) พบว่านักโทษชายและผู้ต้องขังหญิงระหว่าง
๓๑
อยู่ในเรือนจำาหรือสถานคุมขังกรณีตัวอย่าง ได้รับการปฏิบัติที่
ไม่สอดคล้องกับแนวคิดว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ทั้งตามหลักสากลและ
กฎหมายภายในของประเทศไทย ดังนี้
๑.๒.๑) ด้านสภาพกายภาพ พบว่า เรือนจำาและ
้
สถานคุมขังตามงานวิจัยฯ มีสภาพแออัดโดยเฉพาะเรือนนอน มีห้องนำา
ในเรือนนอนไม่เพียงพอ ขณะที่นักโทษชายและผู้ต้องขังหญิงต้องใช้
เวลาในเรือนนอนเป็นเวลานาน (๑๖.๓๐ - ๐๖.๐๐ น.) นักโทษและ
๒๙ กสม. รายงานประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และรายงานผลการปฏิบัติงานประจำาปี ๒๕๕๓-
๒๕๕๔, พ.ศ. ๒๕๕๕, หน้า ๓๗-๓๘.
๓๐ การสัมมนาเรื่องคุกไทย จัดโดยสมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.) เมื่อวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๔
ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
๓๑ เรือนจำากลางบางขวาง และทัณฑสถานหญิงกลางกรุงเทพฯและเชียงราย
การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม 45
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย