Page 41 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 41
ในกรณีที่มีการกระทำาซึ่งกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพตาม
วรรคหนึ่ง ผู้เสียหาย พนักงานอัยการ หรือบุคคลอื่นใดเพื่อประโยชน์
ของผู้เสียหาย มีสิทธิร้องต่อศาลเพื่อให้สั่งระงับหรือเพิกถอน การกระทำา
เช่นว่านั้น รวมทั้งจะกำาหนดวิธีการตามสมควรหรือการเยียวยาความ
เสียหายที่เกิดขึ้นด้วยก็ได้
มาตรา ๓๙ บุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่ได้กระทำาการ
อันกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระทำานั้นบัญญัติเป็นความผิดและกำาหนด
โทษไว้ และโทษที่จะลงแก่บุคคลนั้นจะหนักกว่าโทษที่กำาหนดไว้ใน
กฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระทำาความผิดมิได้
ในคดีอาญา ต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่า ผู้ต้องหาหรือจำาเลย
ไม่มีความผิด
ก่อนมีคำาพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงว่าบุคคลใดได้กระทำา
ความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระทำาผิดมิได้
มาตรา ๔๐ บุคคลย่อมมีสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
ดังต่อไปนี้
(๑) ...................................
(๒) สิทธิพื้นฐานในกระบวนพิจารณา ซึ่งอย่างน้อยต้องมี
หลักประกันขั้นพื้นฐานเรื่องการได้รับการพิจารณาโดยเปิดเผย การได้
รับทราบข้อเท็จจริงและตรวจเอกสารอย่างเพียงพอ การเสนอข้อเท็จจริง
ข้อโต้แย้ง และพยานหลักฐานของตน การคัดค้านผู้พิพากษาหรือ
ตุลาการ การได้รับการพิจารณาโดยผู้พิพากษาหรือตุลาการที่นั่ง
พิจารณาคดีครบองค์คณะ และการได้รับทราบเหตุผลประกอบคำาวินิจฉัย
คำาพิพากษา หรือคำาสั่ง
(๓) ................
การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม 39
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย