Page 28 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 28
- ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ยังไม่ได้
บัญญัติห้ามทรมานและการลงโทษอื่นที่โหดร้ายในกระบวนการสอบสวน
ของเจ้าหน้าที่ทหารและตำารวจ
๓.๑.๓) แนวทางอนุวัติกฎหมายภายในตามอนุสัญญา
ต่อต้านการทรมานฯ คือ
- แก้ไขประมวลกฎหมายอาญา โดยให้ระบุนิยาม
คำาว่า การกระทำาทรมานเป็นฐานความผิดทางอาญา รวมทั้งกำาหนดโทษ
สำาหรับการกระทำาความผิดดังกล่าวเป็นโทษจำาคุกตั้งแต่ ๒ ปี ถึง ๑๕ ปี
๓.๒) ประเทศญี่ปุ่น (เข้าเป็นภาคี เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน
พ.ศ. ๒๕๔๒)
๓.๒.๑) กฎหมายภายในและมาตรการ
- รัฐธรรมนูญ มาตรา ๓๖ ห้ามการทรมานและการ
ลงโทษที่โหดร้าย โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐอย่างเด็ดขาด
๑๓
- ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๙๕ และ ๑๙๖
ได้กำาหนดให้การกระทำาที่รุนแรงและโหดร้ายโดยเจ้าหน้าที่รัฐเป็น
ความผิด แต่ยังไม่ครอบคลุมบางประเด็น เช่น การทรมานทางจิตใจ
อีกทั้งบทลงโทษของการกระทำาความผิดบางประการ เช่น การข่มขู่
ยังไม่ครอบคลุมเจ้าพนักงานทุกประเภท ๑๔
๑๓ รายงานการปฏิบัติตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ ฉบับแรกของญี่ปุ่น (เอกสารสหประชาชาติที่ CAT/C/JPN/1),
ข้อ ๒, หน้า ๖.
๑๔ Committee Against Torture, Conclusions and Recommendations: Japan, 2007 (เอกสารสหประชาชาติที่
CAT/C/JPN/CO/1), ข้อ ๑๐, หน้า ๒.
26 การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย