Page 25 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 25
ต่อต้านการทรมานฯ โดยยังไม่ครอบคลุมเรื่องการกระทำาทรมานที่
เกิดจากการเลือกปฏิบัติ และ (๑.๔) ร่างแก้ไขประมวลกฎหมายอาญา
ดังกล่าว ยังไม่ครอบคลุมถึงการกระทำาความผิดซึ่งเป็นการกระทำาอื่นที่
่
โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือการประติบัติ หรือการลงโทษที่ยำายีศักดิ์ศรี
ที่ไม่ถึงกับเป็นการทรมาน ตามที่บัญญัติไว้ในข้อ ๑๖ แห่งอนุสัญญาฯ
(๒) ข้อความตามมาตรา ๙๐/๑ วรรคสอง ...และศาลอาจ
มีคำาสั่งให้ผู้กระทำาจัดการแก้ไขเพื่อเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่
บุคคลผู้ถูกกระทำาตามที่เห็นสมควรก็ได้ ในเรื่องนี้ควรกำาหนดเรื่อง
การชดเชยเยียวยาแก่ผู้เสียหายจากการกระทำาทรมานให้ชัดเจนตามที่
บัญญัติไว้ในข้อ ๑๔ ของอนุสัญญาฯ และเอกสาร General comment
หมายเลข ๓ ของคณะกรรมการประจำาอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
ซึ่งได้อธิบายแนวปฏิบัติตามข้อ ๑๔ ของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
ไว้เมื่อปี ๒๕๕๕
๒.๓) ความเห็นเกี่ยวกับบทบาทของพนักงานอัยการในการ
ไต่สวนผู้กระทำาความผิดฐานกระทำาทรมาน ตามร่างพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
สำานักงานอัยการสูงสุดได้ให้ความเห็นตามหนังสือที่
อส ๐๐๔๕.๓/๑๕๗๑๓ ลงวันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เกี่ยวกับบทบาท
ของพนักงานอัยการเกี่ยวกับการไต่สวนผู้กระทำาผิดฐานกระทำาทรมาน
ตามร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... มาตรา ๙๐/๑ ว่า พนักงานอัยการมี
ความเหมาะสมที่จะมีบทบาทในการไต่สวนผู้กระทำาผิดฐานกระทำาทรมาน
ตามร่างกฎหมายดังกล่าว เนื่องจาก
๒.๓.๑) การให้พนักงานอัยการดำาเนินการดังกล่าว
การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม 23
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย