Page 30 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 30

ไม่ครอบคลุมการทรมานทางจิตใจ ยังไม่ชัดเจนเกี่ยวกับการห้ามอ้างคำาสั่ง
                                            ๑๖
            ของผู้บังคับบัญชาเพื่อกระทำาทรมาน    นอกจากนี้ ในชั้นสืบสวน
            สอบสวนมีพนักงานอัยการเป็นผู้รับผิดชอบ โดยอาจมอบหมายให้
            เจ้าพนักงานตำารวจดำาเนินการแทน  ๑๗   ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ตำารวจคนละ
                                                        ๑๘
            ท้องที่กับเจ้าหน้าที่ตำารวจที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำาความผิด
                           ๓.๓.๒)  แนวทางอนุวัติกฎหมายและปรับปรุงมาตรการ
                           -  เยอรมนีได้ตราพระราชบัญญัติการปราบปราม

            อาชญากรรม (Act on the Suppression of Crime) เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๗
            โดยเพิ่มโทษผู้กระทำาความผิดให้สูงขึ้น
                           -  ปรับโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๔๐

            ให้สอดคล้องกับกฎหมายฉบับดังกล่าว เป็นโทษจำาคุกตั้งแต่ ๓ เดือนถึง
                                                      ๑๙
            ๕ ปี หากไม่ร้ายแรง มีโทษปรับจนถึงจำาคุกไม่เกิน ๓ ปี

                      ๓.๔) สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (เข้าเป็นภาคีเมื่อวันที่ ๑๘  มิถุนายน
            พ.ศ. ๒๕๒๙) แนวทางอนุวัติกฎหมายตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
            โดยการบัญญัติกฎหมายขึ้นโดยเฉพาะ เรียกว่า พระราชบัญญัติต่อต้าน






            ๑๖  Concluding Observations of the Committee against Torture: Germany. 11/05/1998, ดูได้ที่ http://
                www.unhchr.ch/tbs/doc.nsf/ (Symbol)/A.53.44,paras.179-195.En?OpenDocument
            ๑๗  ดร. สุรสิทธิ์  แสงวิโรจนพัฒน์,  ขั้นตอนการดำาเนินคดีอาญาตามกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเยอรมัน,  วารสาร
                ดุลพาห, เล่ม ๑ ปีที่ ๕๕ (มกราคม-เมษายน ๒๕๕๑), หน้า ๑๙๐. ดูได้ที่ http://elib.coj.go.th/Article/d55_1_9
                .pdf และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของเยอรมัน มาตรา ๑๕๒ วรรคสอง และมาตรา ๑๖๐ วรรคหนึ่ง
            ๑๘  รายงานการปฏิบัติตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ ฉบับที่ ๒ ของเยอรมนี  ที่เสนอต่อคณะกรรมการประจำา
                อนุสัญญาฯ เมื่อปี ๒๕๔๑ (เอกสารสหประชาชาติที่ CAT/C/29/Add.2), ข้อ ๘, หน้า ๑๓ และรายงานฯ
                ฉบับที่ ๓ และ ๔ ที่เสนอต่อคณะกรรมการประจำาอนุสัญญาฯ เมื่อปี ๒๕๔๗ (เอกสารสหประชาชาติที่ CAT/C/
                DEU/5) ข้อ ๑๓๘ หน้า ๒๔.
            ๑๙  รายงานการปฏิบัติตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ ฉบับที่ ๒ ของเยอรมนีที่เสนอต่อคณะกรรมการประจำา
                อนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ เมื่อปี ๒๕๔๑ (เอกสารสหประชาชาติที่ CAT/C/29/Add.2), หน้า ๔.



       28      การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม
               หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
               รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35