Page 26 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 26
เป็นการปฏิบัติงานคดีที่ต่อเนื่อง ทำาให้ทราบรายละเอียดของคดีแต่แรก
และรับผิดชอบในการได้มาของพยาน ทำาให้เกิดความเชื่อมั่นในพยาน
หลักฐานที่ใช้ในการดำาเนินการยื่นคำาร้องต่อศาลตามวรรคหนึ่ง จะทำาให้
ได้ตัวผู้ถูกอ้างว่าถูกกระทำา พร้อมพยานหลักฐานมาศาลเพื่อไต่สวนโดยเร็ว
๒.๓.๒) พนักงานอัยการทราบข้อเท็จจริงและข้อมูล
พยานหลักฐานแต่แรกแล้ว ทำาให้ง่ายในการวินิจฉัยคดีและเข้าช่วยเหลือ
ตัวบุคคลผู้ถูกอ้างว่าถูกกระทำาพร้อมทั้งนำาพยานหลักฐานมาพิสูจน์ใน
ศาลได้
๒.๓.๓) พนักงานอัยการจะสามารถคัดเลือกกลั่นกรอง
้
พยานหลักฐานต่างๆ ที่สำาคัญ และวิเคราะห์นำาหนักพยานได้ว่าเพียงพอ
ในการดำาเนินคดีหรือไม่ หากปรากฏว่ามีการละเมิดกฎหมายของ
เจ้าพนักงาน
๒.๓.๔) เนื่องจากผู้เกี่ยวข้องกับกรณีนี้มักเป็นเจ้าหน้าที่
ตำารวจ การดำาเนินการของพนักงานอัยการจะเป็นอิสระและเที่ยงธรรม
เพราะอยู่คนละหน่วยงานและมีสายบังคับบัญชาที่แตกต่างกัน รวมทั้ง
พนักงานอัยการเป็นผู้รับผิดชอบในการยื่นคำาร้องดำาเนินการไต่สวนในศาล
ตามลักษณะงานในหน้าที่โดยตรง
๓) กรณีศึกษาของต่างประเทศ
๙
๓.๑) สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (เข้าเป็นภาคี เมื่อวันที่ ๒๘
ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ โดยได้ตั้งข้อสงวนข้อ ๓๐ วรรคแรกของอนุสัญญา
๑๐
ต่อต้านการทรมานฯ)
๙ Amnesty International, Indonesia: Briefing to the UN Committee against Torture, 2008.
๑๐ ข้อพิพาทใดระหว่างรัฐภาคีสองรัฐหรือกว่านั้นขึ้นไปที่เกี่ยวกับการตีความหรือการใช้บังคับของอนุสัญญานี้
24 การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย