Page 31 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 31
การทรมาน ค.ศ. ๒๐๐๙ (พ.ศ. ๒๕๕๒) (Anti – Torture Act 2009)
พระราชบัญญัติดังกล่าวมีสาระสำาคัญ คือ
๓.๔.๑) เจตนารมณ์ และการนิยามความหมายของ
่
การทรมาน การกระทำาอันโหดร้าย ไร้มนุษยธรรม ยำายีศักดิ์ศรี หลักการ
ว่าด้วยการต่อต้านการทรมาน ๒๐
๓.๔.๒) การคุ้มครองและสิทธิการร้องเรียนของผู้เสียหาย
๒๑
จากการทรมานและผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
- การได้รับการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนอย่างเป็นกลาง
และทันที (ภายใน ๖๐ วันทำาการ) โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติฟิลิปปินส์ (Commission on Human Rights of the
Philippines : CHRP) และหน่วยงานของรัฐอื่น เช่น กระทรวงยุติธรรม
สำานักงานอัยการ สำานักงานตำารวจ และสำานักสืบสวนแห่งชาติ (National
Bureau of Investigation) ทั้งนี้ สองหน่วยงานหลังสามารถตรวจสอบ
ได้ต่อเมื่อได้รับคำาร้องเรียน
- การได้รับการคุ้มครองจากการถูกข่มขู่ คุกคาม เนื่องจาก
การร้องเรียน หรือเป็นพยาน
- การได้รับการช่วยเหลือทางกฎหมายจากคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติฟิลิปปินส์ และสำานักงานอัยการ ในการตรวจสอบ
ติดตาม และ/หรือฟ้องคดีในเรื่องที่ร้องเรียน
- การได้รับการตรวจสุขภาพทางร่างกายและด้าน
จิตใจ
๒๐ Republic Act no. 9745, An Act Penalizing Torture and other Cruel, Inhuman and Degrading
Treatment or Punishment and Prescribing Penalties Therefor, Section 1- 8
๒๑ Republic Act no. 9745, Section 9-12
การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม 29
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย