Page 23 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 23
ถ้าการกระทำานั้นได้กระทำาโดยมีความมุ่งหมายเพื่อ
(๑) ให้ได้มาซึ่งถ้อยคำา หรือคำารับสารภาพของผู้ถูกกระทำา
นั้นเอง หรือของผู้อื่น
(๒) ลงโทษผู้ถูกกระทำานั้นเอง
(๓) ข่มขืนใจให้ผู้ถูกกระทำานั้นเอง หรือผู้อื่นกระทำาการใด
ไม่กระทำาการใด หรือจำายอมต่อสิ่งใด
เจ้าพนักงานผู้นั้นกระทำาความผิดฐานกระทำาทรมาน ต้อง
ระวางโทษจำาคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจำาคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่
หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท
......................................................”
๒.๒.๒) ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... มาตรา ๓ ให้เพิ่ม
เติมความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๙๐/๑ แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา
“มาตรา ๙๐/๑ เมื่อมีการอ้างว่าบุคคลใดถูกกระทำาทรมาน
ทารุณกรรมหรือลงโทษด้วยวิธีการที่โหดร้ายหรือไร้มนุษยธรรม บุคคล
เหล่านี้มีสิทธิยื่นคำาร้องต่อศาลยุติธรรม
(๑) ผู้เสียหาย
(๒) พนักงานอัยการ
(๓) พนักงานสอบสวน
(๔) บุคคลอื่นใดเพื่อประโยชน์ของผู้เสียหาย
เมื่อได้รับคำาร้องดังนั้น ให้ศาลดำาเนินการไต่สวนฝ่ายเดียว
โดยด่วน ถ้าศาลเห็นว่าคำาร้องนั้นมีมูลและเห็นว่าเป็นกรณีจำาเป็นต้องให้
ความคุ้มครองบุคคลผู้ถูกอ้างว่าถูกกระทำาโดยเร็วให้ศาลมีอำานาจสั่งให้
การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม 21
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย