Page 27 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 27

๓.๑.๑)  กฎหมายภายในและมาตรการ

                              -  รัฐธรรมนูญแห่งอินโดนีเซีย มาตรา ๒๗ วรรคแรก
               พระราชกฤษฎีกา ค.ศ.๑๙๙๘ หมายเลข ๑๗ เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
               มาตรา ๒๕ กฎหมาย ค.ศ. ๑๙๙๙ หมายเลข ๓๙ เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน

               มาตรา ๔ และมาตรา ๒๘ G วรรคสอง และรัฐธรรมนูญแก้ไขฉบับที่ ๒
               มาตรา ๒๘ i วรรคแรก ซึ่งบัญญัติห้ามการทรมาน  ๑๑
                              -  กฎหมายว่าด้วยศาลสิทธิมนุษยชน (Law on Human

               Rights Court) ซึ่งกล่าวถึงการทรมานในบริบทของอาชญากรรมต่อ
               มนุษยชาติ (Crimes against humanity) โดยระบุว่าการทรมานจะเป็น
               ความผิดทางอาญาได้เฉพาะกรณีการทรมานซึ่งกระทำาอย่างกว้างขวาง

               และเป็นระบบ (broad and systematic)

                              ๓.๑.๒) กฎหมายอาญาที่ยังไม่สอดคล้องตามอนุสัญญา
               ต่อต้านการทรมานฯ
                              -  ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๕๑ - ๓๕๘

               ว่าด้วยทุรกรรม (maltreatment) ซึ่งเป็นบทบัญญัติที่ใช้บังคับเป็นการ
               ทั่วไป (มิใช่เฉพาะกรณีการกระทำาโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐเท่านั้น) มีบท

               ลงโทษจำาคุกตั้งแต่ ๒ - ๙ ปี  ๑๒





                   ที่ไม่สามารถระงับได้โดยการเจรจา ต้องมอบให้อนุญาโตตุลาการวินิจฉัยชี้ขาดตามคำาร้องขอของรัฐภาคีคู่พิพาทรัฐใด
                   รัฐหนึ่ง  หากภายในหกเดือนนับจากวันที่มีการร้องขอให้มีการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ  คู่พิพาท
                   ยังไม่สามารถตกลงกันได้ในเรื่องการจัดให้มีการวินิจฉัยชี้ขาดโดยอนุญาโตตุลาการ คู่พิพาทฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีสิทธิ
                   ที่จะส่งข้อพิพาทนั้นไปยังศาลยุติธรรมระหว่างประเทศตามคำาร้องขอตามธรรมนูญของศาลฯ
               ๑๑  รายงานประเทศฯ ฉบับที่ ๒ ต่อคณะกรรมการประจำาอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ เมื่อปี ๒๕๔๘
               ๑๒  การชี้แจงของรัฐบาลอินโดนีเซียต่อประเด็นคำาถาม (ข้อ ๑) ของคณะกรรมการประจำาอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
                   ในการพิจารณารายงานประเทศ ฉบับที่ ๒ เมื่อปี ๒๕๕๑, ดูได้ที่ http://www๒.ohchr.org/english/bodies/cat/
                   cats40.htm (หัวข้อ List of issues and Written replies ของประเทศอินโดนีเซีย)





                          การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม  25
                              หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
                                      รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32