Page 33 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 33
(ค.ศ. ๑๙๘๙) เพื่อให้สอดคล้องตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
และพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาฯ โดยมีสาระสำาคัญ คือ
๓.๕.๑) ส่วนที่ ๑ นิยามศัพท์ เช่น การทรมาน เจ้าหน้าที่
๒๔
ของรัฐที่อยู่ในข่าย ซึ่งสอดคล้องตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
๓.๕.๒) ส่วนที่ ๒ การฟ้องคดีในความผิดฐานทรมาน
อธิบายถึง การกระทำาที่เป็นการทรมาน อาณาเขตที่อยู่ภายใต้เขต
อำานาจรัฐ การพิจารณาค่าชดเชยให้แก่ผู้เสียหาย ซึ่งดำาเนินการโดย
สำานักงานอัยการ การแก้ไขกฎหมาย เช่น พระราชบัญญัติส่งผู้ร้าย
ข้ามแดนพระราชบัญญัติผู้กระทำาผิดที่หลบหนีออกนอกประเทศ
๒๕
การฟ้องคดี ซึ่งต้องเป็นไปตามการยินยอมของสำานักงานอัยการ
๓.๕.๓) ส่วนที่ ๓ การป้องกันการกระทำาทรมาน มี
เจตนารมณ์เพื่อให้สอดคล้องตามพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้าน
การทรมานฯ ๒๖
๑.๑.๓ หลักการและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
๑) ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ข้อ ๕ บุคคลใดจะถูกกระทำาการทรมานหรือการปฏิบัติหรือ
่
การลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือยำายีศักดิ์ศรีไม่ได้
ข้อ ๖ ทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการยอมรับทุกแห่งหนว่าเป็น
บุคคลตามกฎหมาย
๒๔ Crimes of Torture Act 1989, No.2
๒๕ Crimes of Torture Act 1989, No.3-5, 8 และ 12
๒๖ Crimes of Torture Act 1989, No. 16, 26, 27, 31 และ 32
การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม 31
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย