Page 29 - การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรีและเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย
P. 29
๓.๒.๒) แนวทางอนุวัติกฎหมายและการริเริ่ม/ปรับปรุง
มาตรการต่างๆ ตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
- ญี่ปุ่นได้จัดตั้งกลไกการติดตามตรวจสอบการ
คุมขังและป้องกันการเกิดความรุนแรง เช่น คณะกรรมการผู้ตรวจการ
สถานที่คุมขัง (Board of Visitors for Inspection of Penal Institutions)
คณะกรรมการทบทวนและสอบสวนข้อร้องเรียนของผู้ต้องขังในสถานที่
คุมขัง (Review and Investigation Panel on Complaints by
Inmates in Penal Institutions) คณะกรรมการผู้ตรวจการการคุมขัง
ของตำารวจ (Board of Visitors for Inspection of Police Custody) ๑๕
- ญี่ปุ่นได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติควบคุมคนเข้าเมือง
และผู้ลี้ภัย (Immigration Control and Refugee Recognition Act)
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๙ แต่พระราชบัญญัติดังกล่าวยังไม่ครอบคลุมหลักการ
ไม่ผลักดันกลับ (Non-Refoulement) และไม่มีหน่วยงานอิสระทบทวน
คำาวินิจฉัยการเนรเทศบุคคลของเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง
๓.๓) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (เข้าเป็นภาคี เมื่อวันที่ ๑
ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๓)
๓.๓.๑) กฎหมายภายในและมาตรการตามอนุสัญญา
ต่อต้านการทรมานฯ
- ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๔๐ ซึ่งห้าม
การทำาร้ายร่างกายโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐในขณะปฏิบัติหน้าที่ แต่ยัง
๑๕ ดูเพิ่มเติมได้ที่ http://www.hurights.or.jp/archives/newsinbrief-en/section2/2007/05/un-committee-
against-torture-considered-report-of-japan.html
การอนุวัติกฎหมายไทยตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม 27
หรือที่ย่ำายีศักดิ์ศรี และเพื่อเตรียมรองรับการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ
รวมทั้งอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย