Page 36 - รายงานการศึกษาเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย
P. 36
คอนเนคทิกัต ได้เพิ่มจำานวนคดีสำาหรับต้องโทษประหารชีวิตเพิ่มจาก ๖ คดี เป็น ๑๐ คดี โดยเพิ่ม
คดีการมีเพศสัมพันธ์กับสัตว์หรือผิดธรรมชาติ การทำาให้ผู้อื่นพิการ การปล้น และการปลอมแปลง
นอกจากนี้ มลรัฐทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกาจำานวนมากได้มีการเพิ่มโทษประหารชีวิตสำาหรับ
หลายประเภทคดี โดยเฉพาะทาส (Reggio, 2008)
ยุคสมัยที่มีการปฏิรูปที่สำาคัญของประเทศสหรัฐอเมริกา คือ ระหว่างปี
ค.ศ. ๑๘๓๓ – ๑๘๕๓ โดยการประหารชีวิตในที่สาธารณะถูกมองจากสังคมว่าเป็นสิ่งที่มี
ความโหดร้ายทารุณ บางครั้งได้มีการแสดงการประหารชีวิตโดยการแขวนคอให้แก่ผู้ชม
จำานวนมาก ซึ่งพ่อค้าท้องถิ่นได้มีการขายของที่ระลึกและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ นอกจากนี้
ยังมีการผลักหรือการทะเลาะวิวาทระหว่างผู้เข้าชม เพื่อให้ได้ที่ที่ดีที่สุดในการชมการประหารชีวิต
ผู้เข้าชมบางคนได้มีการสาปแช่งเหยื่ออาชญากรรมและพยายามดึงหรือทำาลายตะแลงแกง
หรือเชือก เพื่อเป็นสิ่งเตือนใจ รวมทั้งการช่วยชีวิต การใช้ความรุนแรงและการเมาสุรา
มักจะเกิดขึ้นในยามค่ำาคืนของการประหารชีวิต หลายมลรัฐจึงมีการประกาศใช้กฎหมายให้มี
การประหารชีวิตด้วยการแขวนคอที่มีความเป็นส่วนตัว โดยในปี ค.ศ. ๑๘๓๓ มลรัฐโรดไอแลนด์
ปี ค.ศ. ๑๘๓๔ ที่มลรัฐเพนซิลเวเนีย และ ปี ค.ศ. ๑๘๓๕ ที่มลรัฐนิวยอร์ค มลรัฐแมซซาชูเซ็ตส์
และมลรัฐนิวเจอร์ซี่ ได้มีการยกเลิกการประหารชีวิตในที่สาธารณะทั้งหมด นอกจากนี้
ตั้งแต่ปี ค.ศ. ๑๘๔๙ ได้มีการกำาหนดให้มีการประหารชีวิตในสถานที่เฉพาะที่มีความเป็นส่วนตัว
จำานวน ๑๕ มลรัฐ การเปลี่ยนแปลงการประหารชีวิตดังกล่าวได้รับการต่อต้านจากนักโทษ
ประหารชีวิตจำานวนมากที่เห็นว่าการประหารชีวิตในที่สาธารณะจะเป็นการทำาให้ประชาชน
ที่ชมการประหารได้มีการหลั่งน้ำาตาออกมาเพื่อเป็นการต่อต้านการประหารชีวิต ตัวอย่างเช่น
ในปี ค.ศ. ๑๘๓๕ หลังจากที่มลรัฐเมน (Maine) ได้มีการประกาศใช้กฎหมายดังกล่าว ได้ก่อให้เกิด
การเลื่อนการประหารชีวิตออกไปหลังจากที่มีประชาชนที่รอชมการประหารมากกว่า ๑๐,๐๐๐ คน
ได้ก่อความไม่สงบโดยไม่รักษากฎระเบียบและมีการต่อสู้ทำาร้ายกัน ทำาให้เจ้าหน้าที่ตำารวจ
ต้องเข้าไปควบคุมความวุ่นวาย ดังนั้น นักโทษประหารในคดีอุกฉกรรจ์ร้ายแรงจึงถูกควบคุม
ตัวในเรือนจำาในฐานะแรงงานคนหนึ่ง และจะถูกประหารชีวิตภายหลังจากที่ได้จำาคุกมาแล้ว
เป็นระยะเวลา ๑ ปี โดยได้รับคำาสั่งจากผู้ว่าการรัฐเท่านั้น หากไม่ได้รับคำาสั่งประหารชีวิต
จากผู้ว่าการรัฐ ภายใต้กฎหมายของมลรัฐเมน (Maine) นักโทษประหารจะต้องโทษจำาคุก
เป็นระยะเวลา ๒๗ ปี แม้ว่าหลายมลรัฐจะมีการกล่าวถึงคุณธรรมของการประหารชีวิต
แต่อย่างไรก็ตาม ไม่มีมลรัฐใดที่ดำาเนินการได้เช่นเดียวกับมลรัฐเมน (Maine) ซึ่งผู้ที่มี
อิทธิพลสำาคัญต่อการปฏิรูปการประหารชีวิต ได้แก่ นักบวชที่มีการรวมกลุ่มกันเรียกร้องให้
มีการปฏิรูปการประหารชีวิต (Bedau, 1982)
ในที่สุด ค.ศ. ๑๘๔๖ มลรัฐมิชิแกนมีการยกเลิกการใช้โทษประหารชีวิตเป็น
มลรัฐแรกสำาหรับทุกคดีประเภท ยกเว้นคดีกบฏต่อมลรัฐ โดยประเภทคดีอื่น ๆ ทางมลรัฐไม่ได้
มีการประหารชีวิตมาตั้งแต่ปี ค.ศ. ๑๘๓๐ ก่อนที่จะมีสถานภาพเป็นมลรัฐ ต่อมา ในปี ค.ศ. ๑๘๕๒
โทษประหารชีวิตในประเทศไทย 23