Page 133 - รายงานการศึกษาเรื่องโทษประหารชีวิตในประเทศไทย
P. 133

ก�รลงโทษประห�รชีวิตเป็นก�รตอบแทนแก้แค้นที่สมดุลกับก�รกระทำ�ผิด
                           โดยที่การลงโทษประหารชีวิตมีวัตถุประสงค์ที่สำาคัญ เพื่อทำาให้ผู้กระทำาผิดได้รับการลงโทษ

                  สถานหนักเท่าเทียมกับความผิดที่ตนได้กระทำาลงไป  เช่น  ผู้กระทำาผิดในคดีฆาตกรรมทำาให้ผู้อื่น

                  ถึงแก่ชีวิต  ย่อมเป็นการเหมาะสมที่จะต้องถูกลงโทษประหารชีวิตให้ตายตกไปตามกัน  เนื่องจาก
                  การกระทำาผิดมีความโหดร้ายเป็นการทำาให้ผู้อื่นถึงแก่ชีวิต  จึงควรถูกลงโทษด้วยการทำาให้ถึง
                  แก่ชีวิต เช่นเดียวกัน เพื่อสร้างความเป็นธรรมให้แก่เหยื่ออาชญากรรม นอกจากนี้ โทษประหารชีวิต

                  ยังทำาให้เกิดความสงบเรียบร้อยแก่สังคม เนื่องจาก



                           •  ก�รลงโทษประห�รชีวิตเป็นก�รป้องกันสังคม
                              โดยการตัดโอกาสอาชญากรผู้กระทำาผิดไม่ให้มีโอกาสในการกลับมากระทำาผิดได้อีก

                  อันถือว่าการลงโทษประหารชีวิตเป็นการกำาจัดอาชญากรออกจากสังคมอย่างเด็ดขาด  โดยเฉพาะ

                  อาชญากรที่ไม่สามารถแก้ไขให้กลับมาเป็นคนดีได้  หรือผู้มีลักษณะเป็นอาชญากรโดยกมลสันดาน
                  เพื่อมิให้มีโอกาสในการกระทำาผิดซ้ำาได้อีกเลย  จึงทำาให้สังคมเกิดความสงบสุขและเกิดความเป็น
                  ระเบียบเรียบร้อย




                           •  ก�รลงโทษประห�รชีวิตเป็นก�รข่มขู่ยับยั้งพฤติกรรมก�รกระทำ�ผิด
                              กล่าวคือ การลงโทษประหารชีวิตเป็นมาตรการที่ยับยั้งผู้ที่คิดจะกระทำาผิดให้เกรงกลัว
                  ต่อการถูกลงโทษ โดยเป็นการข่มขวัญผู้กระทำาผิดมากกว่าการลงโทษด้วยรูปแบบอื่น ๆ เพราะบุคคล

                  ย่อมมีความรักและหวงแหนชีวิตของตนเป็นธรรมดา  โดยเฉพาะการลงโทษประหารชีวิตเหมาะสม

                  กับอาชญากรรมที่มีความรุนแรง ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนจำานวนมากในสังคม อาทิ การก่อ
                  การร้าย  การก่อวินาศกรรม  หรือการค้ายาเสพติด  รวมทั้งการฆาตกรรมที่มีความโหดร้ายทารุณ
                  เพื่อเป็นการป้องปรามอาชญากรรมประเภทนี้ไม่ให้ทวีความรุนแรงในสังคมต่อไป




                           ดังนั้น  จึงอาจกล่าวได้ว่าโทษประหารชีวิตเป็นบทลงโทษที่สูงสุดของสังคมมาเป็น
                  ระยะเวลานาน  เนื่องจากสังคมส่วนหนึ่งเห็นว่าการใช้โทษประหารชีวิตเป็นการลงโทษสำาหรับ
                  ผู้กระทำาผิดในคดีที่มีความรุนแรงจากรัฐเพื่อป้องกันการแก้แค้นทดแทนจากเหยื่อหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

                  อันเป็นการสร้างความเป็นธรรมและความสงบสุขให้แก่สังคม รวมทั้งการใช้โทษประหารชีวิตเป็นการ

                  ทำาให้ผู้กระทำาผิดและบุคคลทั่วไปในสังคมเกิดความเกรงกลัวไม่ต้องการกระทำาผิด และการตัดโอกาส
                  ผู้กระทำาผิดออกจากสังคม อันเป็นการสร้างความสงบสุขให้เกิดแก่สังคม



                           ๒.๕.๓ หลักก�รใช้อำ�น�จของรัฐ

                                  จากแนวคิดเรื่องการใช้อำานาจหรือความรุนแรงของรัฐเกิดขึ้นเนื่องจาก
                  ความจำาเป็นของรัฐที่จะต้องใช้ความรุนแรงในการควบคุมความสงบสุขของสังคม  ดังที่






       120     คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138