Page 84 - รายงานโครงการศึกษา เรื่อง การจัดทำตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
P. 84

83


                                                                                                   รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง
                                                                       การจัดทำาตัวชี้วัดสิทธิมนุษยชนเบื้องต้นตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน




                                                ๓.๔  การสัมภาษณ์เชิงลึก





                            จากการสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่สอง (ดูหัวข้อ ๓.๓.๒)  ที่ประชุมฯ เสนอว่า ควรมี
                     การสอบถามความเห็นหน่วยงานที่ปฏิบัติงาน  ดังนั้น คณะผู้ศึกษาจึงได้ดำาเนินการสัมภาษณ์เชิงลึก
                     ผู้ที่มีส่วนโดยตรงกับตัวชี้วัด  ทั้งผู้ที่เป็นผู้ปฏิบัติภาครัฐที่จะต้องถูกตรวจสอบโดยตัวชี้วัด และ กสม.

                     ซึ่งเป็นผู้ที่จะใช้ตัวชี้วัดในการติดตามตรวจสอบ โดยได้สัมภาษณ์บุคคล ดังต่อไปนี้



                            ศาสตราจารย์ ดร. อมรา พงศาพิชญ์  ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                            นางเบ็ญจพร ฉัตรกุล ณ อยุธยา   รองผู้อ�านวยการ ส�านักงานสถิติแห่งชาติ
                            พลตำารวจโท อำานาจ อันอาตม์งาม   ผู้บัญชาการส�านักงานยุทธศาสตร์ต�ารวจ

                                                          ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ
                            นายขรรค์ชัย คงเสน่ห์          ผู้อ�านวยการกลุ่มงานบริหารทั่วไป ส�านักบริหารกลาง

                                                          ส�านักงาน กสม.
                            นายกมล สวัสดิ์ชูแก้ว          ผู้อ�านวยการ ส�านักแผนและยุทธศาสตร์
                                                          กระทรวงแรงงาน

                            ผู้อำานวยการ สำานักสวัสดิการสังคม  กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
                                                          (สอบถามทางจดหมาย)


                            ในการดำาเนินการสัมภาษณ์เชิงลึก  คณะผู้ศึกษาได้ส่งคำาถามล่วงหน้าให้ผู้ให้สัมภาษณ์

                     ประมาณสิบห้าวัน และได้สัมภาษณ์ด้วยวาจาโดยการนัดหมาย (ยกเว้น สำานักสวัสดิการสังคม ที่ไม่ได้
                     สัมภาษณ์ด้วยวาจา) ทั้งนี้เพื่อให้ผู้สัมภาษณ์ได้มีเวลาเตรียมข้อมูลและหารือกับผู้เกี่ยวข้องในหน่วยงาน
                     คำาถามแบ่งเป็นสามส่วน คือ


                            ส่วนที่หนึ่ง  เป็นคำาถามที่ต้องการคำาตอบเกี่ยวกับความถูกต้องเหมาะสมของร่างตัวชี้วัดว่า

                                       มีความสัมพันธ์กับพันธกรณีระหว่างประเทศหรือไม่  และเป็นไปตามปฏิญญา
                                       สากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนหรือไม่

                            ส่วนที่สอง  เป็นคำาถามที่ต้องการคำาตอบเกี่ยวกับการมีอยู่ของข้อมูล หรือวิธีการที่ใช้ใน
                                       การจัดเก็บข้อมูลของหน่วยงาน


                            ส่วนที่สาม  เป็นคำาถามที่ต้องการคำาตอบเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่กำาหนดขึ้นสัมพันธ์กับการดำาเนินงาน
                                       ของหน่วยงานหรือไม่ อย่างไร



                              โดยผู้ศึกษาได้ส่งแนวคำาสัมภาษณ์ให้กับหน่วยงานที่ให้ข้อมูลล่วงหน้าก่อนเพื่อเป็นการ
                     เตรียมคำาตอบและให้ข้อมูล ความเห็นของผู้ให้สัมภาษณ์มี ดังนี้
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89