Page 69 - ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการคุ้มครองสิทธิของผู้อพยพหนีภัยสงครามและข้อเสนอในการปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522
P. 69

ประเด็นที่สาม  คือ มีเนื้อหาสาระสำาคัญบางส่วนที่ได้ระบุไว้แล้วในแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                                ตอนนี้กำาลังใช้ ฉบับที่  ๒  ซึ่งฉบับที่ ๑  อนุมัติเมื่อ  พ.ศ. ๒๕๔๓  ผ่านไป ๕ ปีก็ไม่ได้ทำาอะไร

                                จนมาฉบับที่  ๒  ผ่านมาแล้ว ๒ - ๓ ปี  ก็ดูเหมือนว่ายังไม่มีอะไร  และตอนนี้กำาลังจะร่าง

                                ฉบับที่ ๓  ตรงนี้ถ้าลงไปศึกษาดูดีๆ คิดว่า ประเด็นสาระสำาคัญที่จะต้องดูแลผู้ที่หลบหนีภัย
                                สงครามเข้ามามันก็ได้ เป็นสิ่งที่ต้องคิดคำานึง  โดยขอความร่วมมือจากหน่วยงานราชการ
                                ส่วนต่างๆ  เอาเอกสารทั้ง ๔ ฉบับ รวมทั้งแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติลงไปปรึกษาหารือ

                                กันว่า “จะนำาไปสู่การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในมุมที่เป็นคุณต่อการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน

                                ในฐานะที่ทุกคนเป็นมนุษย์ได้อย่างไร”


                            นายแพทย์นิรันดร์ พิทักษ์วัชระ  กล่าวปิดเวทีนำาเสนอผลการวิจัยว่า

                            คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติให้ทำาการวิจัยเรื่องนี้  เพราะการมองภาพรวมเรื่องการจัดการ
                     ประชากรของภูมิภาคอาเซียนไม่ใช่แค่เรื่องของผู้อพยพ หรือผู้ลี้ภัย  ประเด็นที่พูดวันนี้เรื่องปัญหาในการ

                     บริหารจัดการผู้อพยพ หรือผู้ลี้ภัยจากสงคราม  จึงเห็นด้วยที่ผู้แทนจาก IOM บอกว่า “เป็นแค่เศษเสี้ยว
                     เล็กๆ ของปัญหาการจัดการประชากร”  แต่คิดว่าเรื่องนี้มีความสำาคัญที่เป็นหัวใจของการพัฒนาในภูมิภาค

                     อาเซียนที่เราเห็นตรงกันว่า “ไม่ต้องการการพัฒนาเพื่อประโยชน์ของคน หรือบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แต่
                     ต้องการพัฒนาเพื่อประโยชน์ของประชาชน หรือว่าชาวอาเซียนทั้งมวล ไม่ว่าจะเป็นไทย พม่า ลาว กัมพูชา
                                                   ่
                     มาเลเชีย อินโดนีเซีย หรือแม้แต่ชาติที่รำารวยอย่าง บรูไน และสิงคโปร์
                            ประเด็นการนำาเสนอผลการวิจัยวันนี้  ตั้งต้นจากการที่เราไปตรวจสอบข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นใน

                     พื้นที่จังหวัดตาก จังหวัดกาญจนบุรี  หรือที่อำาเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่  ข้าราชการบอกกับผมว่า
                     “หมอครับ ผมเป็นทหาร ผมรู้สึกลำาบากมากที่ต้องมาคอยต้อนรับหมอ หมอมาทำาไม แทนที่ผมเอาเวลา

                     ไปป้องกันชายแดน” ผมก็เลยบอกว่า “จริงๆ แล้ว ผมมาช่วยพวกคุณนะ เพราะผมรู้ว่าปัญหาเรื่องการดูแล
                     ชายแดนมันไม่ควรจำากัดเฉพาะทหาร มันควรจะเป็นเรื่องของหน่วยงานของรัฐ หรือกระทรวงอื่นๆ มาช่วย

                     ดูแล เพราะเวลาใครพูดอะไรเขาก็ด่าทหารอย่างเดียวว่า ทหารจัดการไม่ดี เช่น เรื่องการส่งกลับ”
                             ตอนที่ไปพบแม่ทัพภาค ๓  ผมพูดเลยว่า “หลักการส่งกลับจะยึดหลักสิทธิมนุษยชน” แต่ในทาง

                     ปฏิบัติ ชาวบ้านที่มาร้องกับหมอซินเธีย หม่อง ตอนที่มาร้องก็อยู่ในป่าเขาชายแดนไทย – พม่า มีจำานวน
                     มากถึง ๑๐,๐๐๐ กว่าคน แต่ละคนมีสภาพไม่ใช่แค่ว่าน่าสงสาร เพราะเขาไม่ควรจะมารับเคราะห์กรรม
                                            ้
                     หรือภัยพิบัติที่ไม่ได้เกิดจากนำามือของเขาเลย  ประเด็นเหล่านี้ทำาให้ผมเกิดความรู้สึกว่า ไม่ใช่แค่เรื่อง
                     ของภาคประชาชน หรือ NGOs อย่างเดียวที่มาร้องกับเรา เพราะมันมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องของการบริหาร

                     จัดการภาครัฐที่เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้อง
                            สภาพปัญหาในพื้นที่ที่กระทบต่อสวัสดิภาพและความปลอดภัยในชีวิตปกติสุข  ประเด็นการละเมิด
                     สิทธิมนุษยชน  สิทธิในการมีชีวิต  และการที่จะให้หลักประกันความปลอดภัยเพื่อส่งกลับโดยสมัครใจ

                     แต่ปัญหาตรงนั้นไม่ใช่เรื่องที่จบได้ในระยะเวลาสั้นๆ  เลยเกิดปัญหาการละเมิดสิทธิอื่นๆ ต่อเนื่อง เช่น สิทธิ
                                                                               ้
                     ของเด็กที่จะได้รับการศึกษา สิทธิการดูแลรักษาพยาบาล ฯลฯ  สิ่งที่ตอกยำาตรงนี้ คือ น่าจะมีการทบทวน



                                                                                                            


                                      ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการคุ้มครองสิทธิของผู้อพยพหนีภัยสงคราม  และข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย พ.ร.บ. คนเข้าเมือง  พ.ศ. ๒๕๒๒
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74