Page 47 - ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการคุ้มครองสิทธิของผู้อพยพหนีภัยสงครามและข้อเสนอในการปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522
P. 47

สิ่งนี้ทำาให้เกิดความลังเลและกังขาอยู่ว่า “รัฐบาลทหารพม่ากำาลังเล่นนโยบาย ๒ ทาง”
                             คำาถามจึงอยู่ที่ว่า “เข้มข้นอย่างไร” ตอนนี้มันช้าเกินไปแล้ว วงล้อประวัติศาสตร์หมุนไปเรียบร้อย

                     แล้ว พม่ากำาลังได้ทำาในสิ่งที่ตัวเองต้องการ  การเป็นประธานอาเซียน ค.ศ. ๒๐๑๔ การเป็นเจ้าภาพซีเกมส์

                     และเปิดสนามบินเนปีดอว์ นานาชาติ
                             ที่น่าสนใจคือ “เมียวดี” มีการประกาศเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษอย่างเป็นทางการ และบริษัท
                     อิตัลไทย ได้ลงทุนที่เมืองทวาย ๒.๕ แสนล้านบาท ซึ่งใหญ่กว่านิคมอุตสาหกรรมมาบพุด ๑๐ เท่า ซึ่งเป็น

                     ความต้องการของพม่าที่จะทำาให้เป็นเกตเวย์ เพื่อที่จะเชื่อมตลาดขณะนี้ไปสู่จีน อาเซียนทั้งมวล และอินเดีย

                     จะมีประชาการ ๓,๐๐๐ กว่าล้านเกินครึ่งหนึ่งของประชากรโลก  ทวายจะกลายเป็นฐานที่มั่นสำาคัญของ
                     พม่า  นี่เป็นเพียงตัวอย่างเดียว รัฐบาลทหารพม่าถือหุ้นร้อยละ ๒๕  ประเด็นคือว่า การเปลี่ยนแปลงที่
                     เป็นบวกเหล่านี้ของเศรษฐกิจ  ผมอยากจะเชื่อว่า “ไม่กองกำาลังของฝ่ายต่อต้านต้องยอมจำานน กองกำาลัง

                     ของรัฐบาลเองก็จะต้องทำาอะไรที่เป็นบวกมากขึ้น”  ดังนั้น จึงส่งผลต่อการที่ผู้ลี้ภัยจะข้ามมาฝั่งไทยจะ

                     น้อยลง  เศรษฐกิจโตไม่ได้ถ้ามีการสู้รบ เพราะความมุ่งมั่นในทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงในเชิงบวก
                     จึงส่งผลต่อการที่รัฐไทยจะเป็นผู้รับภาระดูแลผู้ลี้ภัยน้อยลง และเมื่อเป็นเช่นนั้นเหตุผลในการภาคีจึงมากขึ้น

                            ในทางวิชาการมีพื้นที่ที่มีความสำาคัญทั้งในทางเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ๔ ประการ ได้แก่

                            ๑)  เมืองหลวง
                            ๒)  สนามบินนานาชาติ
                                      ้
                            ๓)  ท่าเรือนำาลึกสากล
                            ๔)  เมืองชายแดน

                             สรุป ไม่ว่าจะเป็นหลักสิทธิมนุษยชน หลักกฎหมายระหว่างประเทศ หลักรัฐศาสตร์ ความ
                     สัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐ  และสุดท้ายความเปลี่ยนแปลงในประวัติศาสตร์ของภูมิภาคชายแดนไทย - พม่า

                     ผมไม่เห็นเหตุผลที่เราจะไม่เป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยผู้ลี้ภัย  ส่วนเรื่องปมและเทคนิคในทางกฎหมาย
                     ระหว่างประเทศ ผมคิดว่าเราต้องมานั่งคุยกัน และจัดเวทีอีกครั้งหนึ่ง


                            นายวีระวัฒน์  ตันปิชาติ  จากมูลนิธิพิทักษ์ประชาชาติ กล่าวว่า

                            แนวคิดในเรื่องปัญหาผู้ลี้ภัย โดยขอบเขตไม่แน่ใจว่า ผู้ลี้ภัยประเทศใดบ้างที่อยู่ในค่ายพักพิง สิ่งที่

                     เป็นปัญหาที่เราต้องมอง คือ ขีดจำากัดมีหลายอย่างในส่วนของเรา และมันไปเกี่ยวพันในเชิงความคิด
                     หลายๆ อย่าง  มันเป็นการต่อสู้เรื่องกระบวนการความคิดทั้งหมด ถึงจะกำาหนดออกมาเป็นกรอบได้

                     ถึงแม้เราจะไม่ได้เข้าไปสู่อนุสัญญาแบบนั้น  แต่การปฏิบัติของเรากับคนที่ลี้ภัยเหล่านั้น เราทำาได้ดีกว่า
                     เขามาก มีประวัติศาสตร์ไม่ใช่เฉพาะกลุ่มพม่า แต่มีหลายกลุ่มที่ดูแลเขาจนกระทั่งเข้ามาสู่สถานะเป็นคนไทย

                             กรณีปัญหาของผู้หนีภัยชายแดนพม่ามันมีอยู่ตลอดเวลา ไม่ได้ขึ้นอยู่กับเราคนเดียว หรือว่า
                     ขึ้นอยู่กับเราและรัฐบาลทหารพม่า  อย่างน้อยที่สุดมันมีรัฐ หรือชนกลุ่มน้อยอีกกลุ่มหนึ่งที่เป็นเงื่อนไข

                     เพราะฉะนั้น เราจึงมองว่า  เราไปพูดกับรัฐพม่า  และองค์กรระหว่างประเทศ  สามส่วนนี้มันแก้ปัญหาไม่ได้
                     สิ่งที่ปรากฏอยู่ตลอดเวลาหรืออยู่ในแนวคิดพัฒนาการ



                                                                                                            


                                      ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการคุ้มครองสิทธิของผู้อพยพหนีภัยสงคราม  และข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย พ.ร.บ. คนเข้าเมือง  พ.ศ. ๒๕๒๒
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52