Page 126 - ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการคุ้มครองสิทธิของผู้อพยพหนีภัยสงครามและข้อเสนอในการปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522
P. 126

หลักเกณฑ์ทางกฎหมายดังกล่าว ยังสร้างภาระแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับผู้ลี้ภัยและเป็น
                     อุปสรรคต่อการบริหารจัดการผู้ลี้ภัยอีกด้วย  ประเทศไทยจึงควรบัญญัติคำาจำากัดความของคำาว่า

                     “ผู้ลี้ภัย” ไว้ในพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง เพื่อเป็นกรอบทางกฎหมายให้เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงาน

                     ปิดช่องทางการหาประโยชน์ที่มิชอบ  ลดภาระของประเทศไทยโดยจำากัดบุคคลที่ประเทศไทยจะให้
                     ความช่วยเหลือผู้ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามมาตรานี้  และช่วยให้ประเทศไทยสามารถบริหารจัดการ
                     ผู้ลี้ภัยได้อย่างเหมาะสม




                         ๒. คณะกรรมการพิจารณาคนเข้าเมือง

                         มาตรา ๖  “ให้มีคณะกรรมการพิจารณาคนเข้าเมืองคณะหนึ่งประกอบด้วยปลัดกระทรวง

                  มหาดไทย เป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงการต่างประเทศอธิบดีกรมตำารวจ อธิบดีกรมแรงงาน อธิบดี
                  กรมอัยการ  เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน  เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ  ผู้อำานวยการ
                  องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เป็นกรรมการ  และผู้บังคับการกองตรวจคนเข้าเมือง เป็น

                  กรรมการและเลขานุการ”

                         แนวทางแก้ไข

                            บัญญัติเพิ่มเติม มาตรา ๖ ให้มี “….ผู้แทนจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ๑ คน”


                         เหตุผล

                            การบริหารจัดการคนต่างด้าวในราชอาณาจักร  นอกจากรัฐจะต้องคำานึงถึงความสงบ
                     เรียบร้อยภายในรัฐ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การท่องเที่ยว การลงทุน แรงงาน และกฎหมาย

                     สิ่งหนึ่งที่รัฐไม่สามารถละเลยได้ คือ การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน  เพราะสิทธิมนุษยชนเป็น
                           ้
                     เครื่องคำาจุนให้ปัจจัยอื่นๆ ที่กล่าวมาข้างต้นสามารถดำารงอยู่ได้อย่างมั่นคง  ดังนั้น ในการแต่งตั้ง
                     คณะกรรมการพิจารณาคนเข้าเมือง ซึ่งมีบทบาทสำาคัญในการบริหารจัดการคนต่างด้าวในราช
                     อาณาจักรจึงตัวแทนจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ๑ คน เพื่อทำาหน้าที่พิจารณา

                     เรื่องการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิมนุษยชน ในกรณีดังกล่าว



                         มาตรา ๗  “ให้คณะกรรมการมีอำานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
                             (๑)  เพิกถอนการอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวตามมาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง

                             (๒)  พิจารณาอุทธรณ์ตามมาตรา ๓๖ วรรคสอง
                             (๓)  อนุญาตให้คนต่างด้าวเข้ามามีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรตามมาตรา ๔๑ วรรคหนึ่ง

                             (๔)  กำาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของคนต่างด้าวซึ่งขอเข้ามามีถิ่นที่อยู่ใน
                                  ราชอาณาจักร เงื่อนไขเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติและเงื่อนไขอื่นตามมาตรา ๔๑

                                  วรรคสอง




        


        ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการคุ้มครองสิทธิของผู้อพยพหนีภัยสงคราม  และข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย พ.ร.บ. คนเข้าเมือง  พ.ศ. ๒๕๒๒
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131