Page 74 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 74
4. เซนต์ ออกุสติน ( St. Augustine ) คริสต์ศตวรรษที่ 5
เซนต์ ออกุสติน สานุศิษย์คนส าคัญของพระเยซู ได้เสนอแนวคิดเรื่องการแบ่งแยก
อ านาจของอาณาจักรและศาสนจักรไว้ในหนังสือชื่อ อาณาจักรของพระเจ้า (City of God ) โดย
กล่าวว่า “ส่วนประกอบของมนุษย์มี 2 สิ่ง ได้แก่ ร่างกายและวิญญาณ มนุษย์เป็นผู้แสวงหา
ความสุขทั้งทางโลกและทางวิญญาณ ความสุขทางวิญญาณหาได้ในอาณาจักรของพระเจ้าซึ่งมีแต่
ความสงบสุข ส่วนความสุขทางร่างกายหาได้ในอาณาจักรโลก ( City of the World ) ซึ่งเป็นเรื่อง
่
ของกิเลสตัณหาและเป็นอ านาจฝายต ่า” ข้อเขียนของเซนต์ ออกุสติน แสดงให้เห็นว่าในสังคมมี
อาณาจักรอยู่ 2 ประเภท คือ อาณาจักรทางโลกกับอาณาจักรของพระเจ้า อ านาจในการปกครอง
อาณาจักรมาจากพระเจ้า ถือเป็นการแบ่งแยกศาสนจักรกับอาณาจักรออกจากกัน โดยถือว่า
ศาสนจักรอยู่สูงกว่าและมีอ านาจเหนืออาณาจักร พระจึงเป็นพวกที่มีอิทธิพลและอ านาจมากใน
สมัยนี้
ค าสอนของคริสต์ศาสนาถือว่า มนุษย์ได้ถูกสร้างขึ้นและได้รับอ านาจมาจากพระเจ้า มี
รูปแบบเช่นเดียวกับพระองค์ ดังนั้น มนุษย์จึงเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและมีศักดิ์ศรีในตัวเอง พระเจ้าอยู่
เหนือสรรพสิ่งทั้งปวงมีอ านาจเหนืออาณาจักร ด้วยศักดิ์ศรีของมนุษย์ที่พระเจ้ามอบให้ท าให้
มนุษย์ไม่อาจยอมรับอ านาจรัฐว่ามีอยู่เหนือความเป็นมนุษย์ได้อีกต่อไป
5. เซนต์ โธมัสอควินัส ( St. Thomas Aquinas ) คริสต์ศักราชที่ 1227-1274
เซนต์ โธมัสอควินัส สานุศิษย์คนส าคัญอีกคนหนึ่งของพระเยซู ได้ให้ค านิยาม
กฎหมายธรรมชาติไว้ ดังนี้ “กฎหมายธรรมชาติ คือ เจตจ านงค์ของพระเจ้า พระเจ้าเป็นผู้สร้าง
โลกและสรรพสิ่งทั้งปวงรวมทั้งกฎหมายธรรมชาติก่อนที่จะมีรัฐใดๆ เกิดขึ้นในโลก กฎหมาย
ธรรมชาติเป็นสิ่งที่อยู่เหนือรัฐ มนุษย์อาจเข้าถึงได้โดยการพิเคราะห์ด้วยเหตุผล”
ในยุคนี้ เป็นที่ถกเถียงกันมากระหว่างความเชื่อในเรื่องเหตุผล (Reason) กับความศรัทธา
(Faith) ว่าสิ่งใดจะเหนือกว่ากัน เขาได้สืบทอดแนวความคิดของเซนต์ แอมโบรส และเซนต์
ออกุสติน ในเรื่องการจ ากัดอ านาจรัฐ โดยได้ประสานความเชื่อในเรื่องเหตุผลและศรัทธาเข้า
ด้วยกัน เขาถือว่ากฎหมายศักดิ์สิทธิ์เป็นสิ่งก าหนดความสัมพันธ์ของมนุษย์ ครอบคลุมทั้งโลก
มนุษย์และสวรรค์และเป็นสิ่งที่มีอ านาจเหนือรัฐ กล่าวคือ รัฐจะบัญญัติกฎหมายอื่นใดให้ขัดแย้งกับ
กฎหมายธรรมชาติได้ ความคิดในเรื่องการจ ากัดอ านาจรัฐท าให้มนุษย์ได้ตระหนักถึงคุณค่าของ
ั
ตนเอง ถือเป็นรากฐานของความเชื่อในเรื่องปจเจกชนนิยม (Individualism) ในเวลาต่อมา
- 30 -