Page 57 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 57

บางประหันบรรลุผลสําเร็จ ผู้บริหารจะต้องสร้างความร่วมมือให้เกิดขึ้นทั้งในส่วนของเจ้าหน้าที่และ
                       ประชาชน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลจะไม่เกิดขึ้นถ้าไม่ได้รับความร่วมมือจากภาคประชาชน และ
                                                                           ั
                                                      ้
                       ความเข้าใจร่วมกันของเจ้าหน้าที่กับเปาหมายของการพัฒนา ปจจัยที่เกื้อหนุนต่อกระบวนการบริหาร
                       จัดการที่ดีของเทศบาลตําบลบางประหัน คือ ภาวะผู้นําของนายกเทศมนตรี การพัฒนาบุคลากรของ
                       หน่วยงานให้มีทัศนคติเชิงบวกในการให้บริการประชาชน หน่วยงานมีค่าตอบแทนแก่เจ้าหน้าที่ที่เหมาะสม
                       และสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนในภารกิจและการดําเนินงานของเทศบาล โดยเฉพาะการมีส่วนร่วม

                       ของประชาชน
                                                                                      ่
                                                                ั
                              เพิ่มศักดิ์  มกราภิรมย์ (2546)  รายงานปญหาการพัฒนากฎหมายปาชุมชนในภูมิภาคเอเชีย
                                                                            ่
                       แปซิฟิกไว้ว่า ข้อจํากัดที่ไม่สามารถนําไปสู่การคุ้มครองรักษาปาที่ดีในภูมิภาคนี้มี 7  ประการ
                                                    ่
                       1)  กระบวนการพัฒนาการจัดการปา  ไม่มั่นคง 2)  อิทธิพลและความลําเอียงจากองค์กรที่เกี่ยวข้อง
                       3)  ความเข้าใจของประชาสังคม  ไม่ค่อยเข้าใจ 4)  ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรที่เกี่ยวข้อง  ไม่ดี
                       5) การเมือง/กระบวนการตัดสินใจ ไม่สมดุล 6) กรอบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ไม่สนับสนุน และ 7) เวที

                       การพูดคุยปรึกษาหารือ ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ
                                                                   ั
                              ข้อจํากัดเหล่านี้ ทําให้เกิดปรากฏการณ์ของปญหาซึ่งแสดงอาการออกมาให้เห็นในหลายด้าน
                            ั
                       เช่น ปญหาความขัดแย้งในการใช้ทรัพยากร การปลูกพืชเกษตรที่ขัดต่อกฎหมาย กิจกรรมการจัดการ
                                  ่
                                                                                                         ่
                       ใช้ประโยชน์ปาที่ขัดต่อกฎหมาย สิ่งเหล่านี้ไม่ได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ และเกิดรุนแรงอย่างต่อเนื่องในเขตปา
                                                   ่
                       เพราะประชาชนไม่มีสิทธิในเรื่องปาและรัฐไม่ค่อยสนใจหรือให้ความสําคัญที่จะปรับปรุงแก้ไขในเรื่อง
                                               ่
                       สิทธิของประชาชนเกี่ยวกับปา รวมทั้งเรื่องพื้นที่อยู่อาศัยทํากินและทรัพยากรของกลุ่มชนท้องถิ่น
                                                                                             ่
                                            ่
                                                                               ั
                       ซึ่งมักจะมีทรัพยากรทั้งปาไม้ นํ้ามันและแร่ธาตุอยู่สมบูรณ์ เมื่อปญหาการรักษาปา ผนวกเข้ากับ
                                                                                           ่
                                                                                                      ่
                        ั
                                                                                                 ั
                       ปญหาการคอร์รัปชั่นในการอนุญาตให้แสวงหาประโยชน์จากไม้และทรัพยากรในปา  ปญหาปาไม้
                                                              ่
                       จึงเกิดผลกระทบในวงกว้างไกลออกไปนอกเขตปา ไปถึงพื้นที่ชนบทและในเมือง ซึ่งไม่สามารถแก้ไขได้
                       และผลกระทบเหล่านี้ไปเชื่อมโยงเข้ากับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนชนบท การพัฒนา
                                                                             ั
                       การท่องเที่ยว ฯลฯ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นนโยบายสําคัญของรัฐบาลในปจจุบันทั้งสิ้น  แนวทางธรรมาภิบาล
                                            ่
                       จึงเข้ามาสู่วงการจัดการปาและทรัพยากรก็เพื่อที่จะหาแง่มุม  วิธีการและผู้ร่วมงานใหม่ ๆ เข้ามาช่วย
                           ั
                                ่
                       แก้ปญหาปาและทรัพยากร
                              3.4.2 นิติธรรม
                              ธานินทร์ กรัยวิเชียร (2504 : 433 - 434) อธิบายว่า หลักนิติธรรม หมายถึง หลักการแห่งกฎหมาย
                       ที่เทิดทูนศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์และยอมรับนับถือสิทธิแห่งมนุษยชนทุกแง่ทุกมุม รัฐต้องให้ความ

                       อารักขาคุ้มครองมนุษย์ให้พ้นจากลัทธิทรราชย์ หากมีข้อพิพาทใด ๆ เกิดขึ้น ไม่ว่าระหว่างรัฐกับเอกชน
                       หรือเอกชนกับรัฐ ศาลสถิตยุติธรรมย่อมมีอํานาจอิสระในการตัดสินคดีตามกฎหมายของบ้านเมือง
                       นิติธรรม (Rule of Law) เป็นหลักการสําคัญทางการปกครอง มีความหมายหลากหลายตามความคิด

                       ของแต่ละคนแต่ได้ก่อรูปร่างชัดเจนขึ้นเป็นหลักของการปกครองโดยกฎหมาย เพื่อก่อให้เกิดความเป็นธรรม
                                        ั
                       ทั้งต่อบุคคลในฐานะปจเจกชน (Individual Interest)  และเป็นธรรมต่อประโยชน์ส่วนรวม (Public  Interests)
                       ซึ่งรัฐมีหน้าที่ดําเนินการเพื่อคุ้มครองทั้งประโยชน์ส่วนบุคคลของสมาชิกและประโยชน์ส่วนรวมในกรณี


                                                                                                      3‐28
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62