Page 50 - รายงานผลการศึกษาวิจัย ฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัยเพื่อการปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 50
มาตรา 58 ในปี พ.ศ. 2515 ได้ขยายให้การเดินสํารวจในมาตรานี้รวมถึงการเดินสํารวจออกหนังสือ
่
ั
รับรองการทําประโยชน์ด้วย จึงได้มีกําหนดความเกี่ยวกับเขตปาไม้ถาวรขึ้นและใช้บังคับมาจนถึงปจจุบัน
ั
นอกจากนี้ ยังมีปญหาความสับสนในการตีความกฎหมายของหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับ
่
สถานะทางกฎหมายของที่ดินซึ่งอยู่ในเขต ส.ป.ก. ที่รับมอบมาจากกรมปาไม้ รวมทั้งการตีความกฎหมาย
่
ในเรื่องคําจํากัดความของ คําว่า “ท้องที่ที่ทางราชการให้จําแนกให้เป็นเขตปาไม้ถาวร” ตามมาตรา 58
แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ว่ามีความหมายแค่ไหนเพียงใดเนื่องจากความเห็นของส่วนราชการ
่
ที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรมปาไม้ กรมพัฒนาที่ดิน และกรมที่ดิน มีความเห็นขัดแย้งกัน
่
ั
3. ปญหาการเดินสํารวจออกโฉนดที่ดินในบริเวณพื้นที่คาบเกี่ยวกับเขตปาชายเลน ผลการศึกษา
่
พบว่า มาตรการของรัฐที่ได้ออกมาโดย มุ่งหวังให้การบุกรุกที่ปาชายเลนลดน้อยลงหรือให้คงสภาพ
่
แปาชายเลนไว้ให้ได้มากที่สุดนั้น จําเป็นจะต้องมีบทบัญญัติของกฎหมายรองรับมาตรการดังกล่าวด้วย
่
่
จึงจะมีสภาพบังคับใช้ตามกฎหมายได้ เพราะการใช้อํานาจของฝายบริหารหรือฝายปกครองย่อมไม่สามารถ
ใช้บังคับกับประชาชนที่มีสิทธิในการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินโดยชอบด้วยกฎหมายได้
ั
4. ปญหาการเดินสํารวจออกโฉนดที่ดินในเขตที่มีพระราชกฤษฎีกาหวงห้ามไว้เพื่อใช้ใน
ราชการทหาร ผลการศึกษา พบว่า มติคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติปี พ.ศ. 2517 มติคณะรัฐมนตรี
ั
เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 และมติของคณะกรรมการประสานการแก้ไขปญหาการบุกรุกที่ดิน
่
ของรัฐส่วนกลาง (กปร. ส่วนกลาง) ถือเป็นมาตรการของฝายบริหารในการควบคุมดูแลรักษาและ
้
่
่
คุ้มครองปองกันที่ดินของรัฐมิให้ตกเป็นประโยชน์แก่ฝายหนึ่งฝายใดโดยเฉพาะ และส่งผลให้การ
ั
แก้ปญหาเกี่ยวกับที่ดินในเขตพระราชกฤษฎีกาหวงห้ามไว้เพื่อประโยชน์ในราชการทหารไม่เป็นที่ยุติ
อย่างไรก็ตาม การเป็นที่ดินของรัฐใช่ว่าจะดํารงอยู่ตลอดไปหรือเปลี่ยนแปลงไม่ได้ รัฐอาจถอนสภาพ
จากการเป็นที่ดินอันเป็นสาธารณประโยชน์สมบัติของแผ่นดินให้เป็นที่ดินที่มีเอกชนหรือประชาชน
เป็นเจ้าของได้ ถ้าหากที่ดินเหล่านี้ในภายหลังราษฎรไม่ได้ใช้ประโยชน์ต่อไปแล้ว หรือรัฐหาที่ดินอื่น
ให้ราษฎรใช้ประโยชน์แทน เมื่อที่ดินหมดสภาพการเป็นสาธารณะ ตามมาตรา 8 วรรค 2 ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน ให้ถอนสภาพได้ โดยออกเป็นพระราชกฤษฎีกา การถอนสภาพเช่นนี้ ประมวลกฎหมายที่ดิน
ไม่ได้บัญญัติว่าเมื่อถอนสภาพแล้วจะเป็นที่ดินประเภทอะไร ดังนั้น รัฐอาจให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่า
ต่อไปก็ได้ถ้ามีสภาพเช่นนั้น หรือให้มีเจ้าของหรือผู้ครอบครองไป โดยนําไปขึ้นทะเบียนเพื่อให้ทบวง
การเมืองใช้ประโยชน์ในราชการตามมาตรา 8 ทวิ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน หรือให้บุคคลใดเข้าจับจอง
่
ใช้ประโยชน์ต่อไปก็ได้ เพราะในการปฏิบัติราชการของฝายปกครองนั้นต้องอาศัยฐานทางกฎหมาย
โดยเฉพาะเมื่อจะกระทําการกระทบเสรีภาพของประชาชน
ขณะเดียวกันก็มีการศึกษาวิจัยจํานวนมากที่ศึกษาค้นหาแนวทาง วิธีการและข้อเสนอเพื่อให้
่
เกิดการจัดการที่ดินและปาให้เกิดความเท่าเทียมและเป็นธรรม บนฐานแนวคิดการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
ของท้องถิ่น แนวคิดเรื่องธรรมาภิบาล รวมทั้งแนวคิดด้านสิทธิมนุษยชน เช่น บทความเรื่องสิทธิใน
ที่ดินของชุมชน : โฉนดชุมชนและข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดย อิทธิพล ศรีเสาวลักษณ์ ที่ระบุว่า การให้
ั
สิทธิชุมชนจัดการที่ดินเป็นทางออกอย่างหนึ่งในการแก้ไขปญหาสิทธิในที่ดินซึ่งจะต้องกําหนดขอบเขต
พื้นที่องค์ประกอบหรือผู้แทนชุมชนเงื่อนไขการใช้พื้นที่ไว้อย่างชัดเจน ส่วนกระบวนการในการบริหาร
3‐21