Page 42 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 42

21


               ใหบุคคลปฏิบัติตาม เชน การกําหนดใหมีการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีกอนการรับเขาทํางาน ในกรณีที่ไม
               มีกฎหมายบัญญัติเปนการเฉพาะ การกระทําดังกลาวใหถือเปนการเลือกปฏิบัติตองหามตามกฎหมายฉบับนี้

               ยิ่งไปกวานั้น กฎหมายบัญญัติหามมิใหมีการคุกคามทั้งทางรางกาย วาจา หรือลายลักษณอักษร และเพศ
               เปนตน
                       การเลือกปฏิบัติดวยเหตุอันเนื่องมาจากเปนผูติดเชื้อเอชไอวี: กรณีการจางงาน
                       มาตรา 15 แหงกฎหมาย DDA บัญญัติไววา หามมิใหนายจาง หรือผูกระทําการแทนนายจาง อาทิ

               บริษัทจัดหางาน เลือกปฏิบัติตอบุคคลดวยเหตุแหงสภาวะสุขภาพ ทั้งในการดําเนินการจัดใหมีการพิจารณา
               การจางงาน การพิจารณาการจางงาน และการกําหนดเงื่อนไขในการจางงาน นอกจากนี้ กฎหมายไดบัญญัติ
               คุมครองลูกจางผูติดเชื้อเอชไอวี โดยหามมิใหนายจางหรือผูกระทําการแทนนายจางปฎิบัติตอลูกจางในการ
               กําหนดเงื่อนไขการทํางานเพื่อใหลูกจางปฏิบัติ หรือปฏิเสธไมใหลูกจางมีโอกาสไดรับการเลื่อนตําแหนงงาน

               โยกยายตําแหนงงาน การฝกอบรมหรือผลประโยชนจากการทํางานประการอื่นหรือใหลูกจางออก หรือกรณี
               อื่นๆ
                       จากการศึกษาพบวา นอกจากกฎหมายกําหนดหนาที่และความรับผิดของนายจางและ/หรือ ผูกระทํา
               การแทนนายจาง หนาที่และความรับผิดตามกฎหมายตามมาตราดังกลาวขางตนยังครอบคลุมไปถึง นายจาง

               รับเหมาคาแรง องคกรวิชาชีพและหุนสวนของหางหุนสวน อีกดวย อยางไรก็ดี กฎหมายฉบับนี้มีขอยกเวนกรณี
               การเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อในการจางงาน/ประกอบอาชีพสามารถกระทําได หากการดังกลาวเปนไปตาม
               หลักการที่เรียกวา คุณสมบัติที่สําคัญอยางยิ่งตอการปฏิบัติงานประเภทนั้น (inherent requirements)

               กลาวคือ หากลูกจางไมสามารถปฏิบัติงานอันเปนสาระที่สําคัญอยางยิ่งตองานประเภทนั้นๆ เนื่องจากขอจํากัด
               แหงสภาวะสุขภาพ นายจางก็ไมจําเปนที่จะตองมีการปรับปรุงแกไขสภาพการทํางานใหเหมาะสม
               (reasonable adjustment) กับสภาวะสุขภาพ และไมถือเปนการเลือกปฏิบัติ ในกรณีดังกลาว นายจางมี
                                                                                                38
               หนาที่ตองพิสูจนใหเห็นวาลูกจางไมสามารถประกอบอาชีพนั้นๆ ไดดวยเหตุแหงสภาวะสุขภาพ
                       นอกจากประเด็นการคุมครองหามมิใหมีการเลือกปฏิบัติแลว จากการศึกษาพบวา กฎหมายฉบับนี้ได

               กําหนดกลไกการคุมครองที่สําคัญทั้งที่เปนสวนของการกําหนดมาตรฐานเกี่ยวกับการคุมครอง (Disability
               Standard)  ซึ่งมีผลผูกพันโดยกฎหมายโดยใหเปนอํานาจหนาที่ของอัยการสูงสุด (the  Attorney  –
                       39
               General)  นอกจากนี้ ภายใตพระราชบัญญัติ Human Rights and Equal Opportunity Commission
               Act 1986 (HREOC) ซึ่งเปนกฎหมายที่เกี่ยวของกับการกําหนดกลไกการรองทุกขภายใตกฎหมายวาดวยการ
               ขจัดการเลือกปฏิบัติ รวมถึง การขจัดการเลือกปฏิบัติดวยเหตุแหงความพิการ หรือ DDA  โดยกําหนดให
               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงเครือรัฐออสเตรเลีย (Australian  Human  Rights  Commission) เปน
               องคกร/สถาบันที่ทําหนาที่กํากับดูแลการบังคับใชกฎหมายและรับเรื่องรองทุกขจากการถูกเลือกปฏิบัติ รวมถึง

               การพัฒนาแนวทางปฏิบัติ (Guidelines)  ซึ่งไมมีผลผูกพันทางกฎหมาย ในคณะกรรมการสิทธิมุนษยชนได



               38
                 คําพิพากษาศาลสูงในคดี X v Commonwealth ไดวางหลักที่สําคัญเกี่ยวกับหลักการ คุณลักษณะที่สําคัญอยางยิ่งตอการ
               ปฏิบัติงานประเภทนั้น กลาวคือ การที่โจทกถูกปลดออกจากการเปนทหารเนื่องมากจากตรวจพบวาเปนผูติดเชื้อเอชไอวี แมวา
               โจทกจะมีสุขภาพที่แข็งแรงและไมปรากฎอาการของโรค โดยรัฐบาลเครือรัฐอางวา  การเปนผูติดเชื้อเอชไอวีทําใหโจทกขาด
               คุณสมบัติที่สําคัญอยางยิ่งตอการปฏิบัติหนาที่เปนทหาร เนื่องจากสาระสําคัญในการปฏิบัติหนาที่ทหารคือการออกรบ ซึ่งใน
               บางครั้งเมื่อเกิดการบาดเจ็บจะตองมีการใหเลือด ซึ่งมีความเปนไปไดวาจะเกิดการแพรเชื้อเอชไอวีจากการใหเลือดได ดวยเหตุ
               ดังกลาวนายจางไมจําเปนตองมีการปรับปรุงแกไขสภาพการทํางานใหเหมาะสมกับสภาวะสุขภาพของลูกจาง และไมถือเปน
               การเลิอกปฏิบัติตามบทบัญญัติแหง พรบ. DDA
               39  Section 31 อาทิ Disability Standard for Education 2005 เปนตน
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47