Page 44 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 44
23
ตามกฎหมาย นอกจากนี้ในการรองทุกขในระดับรัฐบาลกลางกฎหมายบัญญัติใหตองทําการรองทุกขตอ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงเครือรัฐออสเตรเลียกอน (compulsory conciliation) โดยไมอาจยื่นคํารอง
ทุกขตอศาลไดโดยตรง อยางไรก็ดี มีขอเสนอเพิ่มเติมวาควรเปดโอกาสใหผูเสียหายสามารถเลือกวิธีการยื่น
คํารองตอศาลไดโดยตรง โดยไมตองผานกระบวนการของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนกอนซึ่งเปนการแกไข
ปญหาความซ้ําซอนและความลาชาจากกระบวนการการรองทุกขสองชั้น หรืออาจพิจารณาการสรางทางเลือก
ในระบบการระงบขอพิพาท นอกเหนือจากวิธีการประนีประนอมขอพิพาท อาทิ การไกลเกลี่ย หรือ
อนุญาโตตุลาการ เพื่อเปนทางเลือกเพิ่มเติมใหกับผูเสียหายในการเขาถึงกลไกการรองทุกข
เมื่อพิจารณากลไกการคุมครองในระดับศาล พบวา ยังมีอุปสรรคที่สําคัญที่ทําใหกลไกการคุมครอง
ทํางานอยางไมมีประสิทธิภาพ เนื่องจากกลไกของศาลยังมีความลาชาอยูมาก นอกจากนั้น ในการพิจารณา
กรณีการเลือกปฏิบัติในศาลพบวา กฎหมายมิไดอนุญาตใหหนวยงาน หรือองคกรภาคประชาสังคม สหภาพ
เปนผูฟองแทนผูเสียหาย ซึ่งในประเด็นนี้ ถือวามีความสําคัญตอกรณีผูเสียหายจากการถูกเลือกปฏิบัติ รวม
ตลอดถึงผูติดเชื้อเอชไอวีดวย ทั้งนี้เพราะการเปนตัวแทนดําเนินการฟองหรือรองทุกขแทนโดยองคกรดังกลาว
ทําใหกระบวนการรองทุกขมีระบบ และเปนสวนสงเสริมใหผูเสียหายตัดสินใจทําการรองทุกขจากการถูกเลือก
ปฏิบัติมากขึ้น เพราะบางกรณีผูเสียหาอาจไมตองการเปดเผยตัวเนื่องจากความหวาดกลัวตอการตกเปนเหยื่อ
ซ้ําสอง (re-victimisation) ประเด็นสําคัญประการสุดทายคือ บทลงโทษ ซึ่งภายใตกฎหมายปจจุบันกําหนดให
ศาลหรือคณะกรรมการวินิจฉัยคดีไมมีอํานาจในการลงโทษทางอาญา หรือการเยียวยาที่เปนการปองกันหรือ
44
แกไข นอกจากจะมีคําสั่งใหชดเชยคาเสียหายเพื่อเยียวยาการกระทําอันเปนการเลือกปฏิบัติเทานั้น
แนวนโยบายดานการแกไขปญหาเกี่ยวกับโรคเอดส : แนวปฏิบัติที่ดี
รัฐบาลแหงเครือรัฐออสเตรเลีย โดยกรมสุขภาพและผูสูงอายุ ในฐานะหนวยงานรับผิดชอบหลักในการ
นํานโยบายตางๆ ในการแกไขปญหาดานเอดสไปปฏิบัติ อาจกลาวไดวารัฐบาลแหงเครือรัฐออสเตรเลียมี
เจตจํานงในการแกปญหาเกี่ยวกับโรคเอดสอยางจริงจังและตอเนื่อง ปจจุบันรัฐบาลไดกําหนดใหมีการดําเนิน
กิจกรรมตามยุทธศาสตรดานเอดสแหงชาติฉบับที่ 6 ครอบคลุมระยะเวลาระหวางป 2553 – 2556
ยุทธศาสตรดังกลาวไดกําหนดแนวทางและนโยบายเพื่อแกไขปญหาดานเอดส อาทิ มาตรการปองกัน การ
ตรวจเพื่อหาเชื้อเอชไอวี และการดูแลรักษา โดยมุงเนนที่การทํางานรวมกับภาคีผูมีสวนเกี่ยวของ อาทิ ชุมชน
สถาบันวิจัย นักวิชาการดานการแพทย กรมสุขภาพทั้งในระดับเครือรัฐ และรัฐตางๆ
ยุทธศาสตรดานเอดสแหงชาติใหความสําคัญกับมาตรการแกไขปญหาในประเด็นดังตอไปนี้ มาตรการ
ปองกัน การตรวจวินิจฉัยการติดเชื้อเอชไอวี การรักษาพยาบาล กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนและการขจัด
การเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวี การควบคุมดูแล และการวิจัย ยุทธศาสตรดานเอดสแหงชาติยังไดกําหนด
กลุมเปาหมายของการดําเนินงาน ไดแก ผูอาศัยอยูรวมกับเชื้อเอชไอวี กลุมชายรักชาย กลุมชนพื้นเมือง
กลุมคนที่เดินทางมาจากประเทศที่ประสบปญหาการแพรเชื้อสูง กลุมหญิงบริการ กลุมผูตองขัง และกลุมผูใช
ยาเสพติด
44
HIV/AIDS Legal Centre, Consolidation of Commonwealth Anti-Discrimination Laws, February 2012, visited
http://halc.org.au/wp-content/uploads/2013/04/Consolidation-of-Discrimination-legislation.pdfและ
Attorney – General’s Department, Consolidation of Commonwealth Anti–Discrimination Laws -
Discussion Paper, September 2011, visited
http://www.ag.gov.au/Consultations/Documents/ConsolidationofCommonwealthanti-
discriminationlaws/Consolidation%20of%20Commonwealth%20Anti-Discrimination%20Laws.pdf